วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์

สาขาขอบเขตเนื้อหาการตีพิมพ์     

     บทความวิจัยและบทความวิชาการที่ให้ความสำคัญในด้านการทำงานเพื่อแก้ไขปัญหาเชิงพื้นที่ทุกระดับ โดยผลการวิจัยนั้นต้องสามารถแสดงให้เห็นถึงการนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ได้จริงในพื้นที่ สามารถขยายผลความสำเร็จไปยังพื้นที่อื่น หรือให้ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่ ซึ่งมีขอบเขตดังนี้

  1. การจัดการเพื่อการพัฒนา
  2. สุขภาวะชุมชน
  3. เกษตรและอาหารเพื่อชุมชน
  4. ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
  5. การจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมชุมชน

ประเภทบทความที่รับ
      ตีพิมพ์ผลงาน 2 ประเภท คือ

  • บทความวิจัย (Research article)
  • บทความวิชาการ (Academic article) 

การพิจารณาบทความ

      บทความที่ได้รับการเผยแพร่ตีพิมพ์ในวารสารมีการตรวจสอบและพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer-reviews) จำนวน 3 ท่าน ต่อ 1 บทความ โดยผูัทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความที่มีความเชี่ยวชาญตรงตามสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้จะมีรูปแบบที่ผู้พิจารณาบทความไม่ทราบชื่อผู้นิพนธ์บทความและผู้นิพนธ์บทความไม่ทราบชื่อผู้พิจารณาบทความเช่นเดียวกัน (Double-Blinded Peer review) ผ่านระบบ ThaiJO

กำหนดการตีพิมม์เผยแพร่

      กำหนดตีพิมพ์เผยแพร่เป็นประจำทุกปี ปีละ 2 ฉบับคือ

  • ฉบับที่ 1 ช่วงเดือน มกราคม-มิถุนายน
  • ฉบับที่ 2 ช่วงเดือน กรกฏาคม-ธันวาคม

ค่าธรรมเนียมการตีพิมพ์

      วารสารจัดเก็บค่าธรรมเนียมการตีพิมพ์บทความ ต่อ 1 บทความ รายละเอียดดังนี้

  • บุคคลภายนอก ค่าธรรมเนียม  4,500 บาท (สี่พันห้าร้อยบาทถ้วน)
  • บุคคลภายในมหาวิทยาลัย (บุคลากรสายวิชาการ/สนับสนุน) ค่าธรรมเนียม ไม่เก็บค่าธรรมเนียม
  • นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ ค่าธรรมเนียม 3,500 บาท (สามพันห้าร้อยบาทถ้วน)

      โดยจะเรียกเก็บเมื่อบทความของท่าน ได้รับการพิจาณาจากบรรณาธิการให้เข้าสู่กระบวนการส่งพิจารณาบทความจากผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความ โดยวารสารขอสงวนสิทธิ์คืนเงินกรณีบทความได้รับการปฏิเสธตีพิมพ์จากผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความ จำนวน 2 ท่านจาก 3 ท่าน

ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 (2567): (กรกฎาคม - ธันวาคม 2567)

วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์

ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 ( กรกฎาคม - ธันวาคม 2567)

ISSN 2985-2986 (Online)

เผยแพร่แล้ว: 2024-12-12

สถานะการพัฒนาที่ยั่งยืนเป้าหมายที่ 6: การจัดการน้ำและสุขาภิบาลของประเทศไทย พ.ศ. 2559-2565

เสถียร ฉันทะ, สำราญ เชื้อเมืองพาน, อรุณี อินเทพ, จันทร์จิรา ขันเสริฐ

13-27

ANTIBACTERIAL AND ANTIOXIDANT ACTIVITIES OF MUSHROOMS FROM A COMMUNITY ENTERPRISE IN LAMPANG PROVINCE, THAILAND

Pornanan Boonkorn, Sastra Ladpala, Angkhana Chuajedton, Metarin Somboon, Anukool Sroikum, Kanjanavadee Khumsem, Pimkamol Kunakham, Jumnian Meesumlee, Sarayut Malai, Haruthai Thaisuchat

28-42

การเพิ่มประสิทธิภาพคุณภาพยางก้อนถ้วยด้วยช้อนคนยางและกรดฟอร์มิก 7%

น้องนุช สารภี, ปิยรัตน์ มีแก้ว, ยุพเยาว์ โตคีรี, ชัยพันธุ์ สารภี, กชนิภา อุดมทวี, จุฑามาส อยู่มาก, ดวงตา โนวาเชค

43-53

การศึกษาการแปรรูปเปลือกหอยเชลล์ฝาแดงเพื่อพัฒนาเป็นของที่ระลึกชุมชน

ภัทรา ศรีสุโข, กิตติรัตน์ รุ่งรัตนาอุบล, นฤมล เลิศคำฟู, ภัทรบดี พิมพ์กิ, สุรพงษ์ ปัญญาทา, วรฉัตร อังคะหิรัญ

54-65

ปัญหาสุขภาพจิตในผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง จังหวัดเชียงราย

จุฑามาศ เมืองมูล, พัชรินทร์ วินยางค์กูล, พิณัฏฐิณีย์ จิตคำ, อนุสรา บุญจิตร, วัชรพงษ์ เรือนคำ

96-110

การวิเคราะห์การแอ่นและความเค้นของพาเลทเหล็กโดยไฟไนต์เอลิเมนต์

กุลทรัพย์ ผ่องศรีสุข, นนท์ แสนคำแพ, ประสงค์ อิงสุวรรณ, อำนาจ ติงติ๊บ

111-123

ดูทุกฉบับ

จัดทำดัชนีแล้ว TCI