ระบบแสดงผลท่อทางของเรือโดยใช้เทคโนโลยี Augmented Reality
Main Article Content
บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้คือการพัฒนาระบบแสดงท่อทางของเรือโดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยี Augmented Reality เพื่อใช้ในการฝึกกำลังพล ให้มีความชำนาญและเป็นการลดค่าใช้จ่ายจากการฝึก โดยบทความนี้ได้กล่าวถึงขั้นตอนการดำเนินงาน ตั้งแต่การศึกษาระบบท่อทางของเรือ การสร้างโมเดล 3 มิติ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี AR และการสร้างโปรแกรม เพื่อให้กำลังพลสามารถฝึกฝนจากอุปกรณ์ส่วนตัว เช่น Smartphone ได้ โปรแกรมที่ใช้ในการทำวิจัยนี้ ได้แก่ โปรแกรม Sketchup โปรแกรม Maya และโปรแกรม Unity Engine เมื่อทำการสร้างโปรแกรมแล้วจึงทำการทดสอบโดยทำการติดตั้งใน Smartphone ของผู้ใช้งาน โดยเมื่อทำการใช้กล้องจาก Smartphone ไปที่ภาพอ้างอิง ก็จะแสดงภาพเรือและระบบท่อทาง 3 มิติ ซึ่งการสร้างโปรแกรมนี้ทำให้เห็นประโยชน์ของการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี AR กับการแสดงท่อทางของเรือ อีกทั้งยังทำให้ทราบถึงข้อจำกัดด้าน Hardware และรายละเอียดของระบบท่อทางของเรือเพื่อประโยชน์ในการพัฒนาต่อไป
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิชาการโรงเรียนนายเรือ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการโรงเรียนนายเรือ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ถือเป็นลิขสิทธิ์ของโรงเรียนนายเรือ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากโรงเรียนนายเรือก่อนเท่านั้น
References
Yu-Jen Wang, Po-Ju Chen, Xiao Liang & Yi-Hsin Lin, “Augmented reality with image registration, vision correction and sunlight readability via liquid crystal devices”, Scientific Reports, March 2017.
Liu, S., Hua, H. & Cheng, D. A Novel Prototype for an Optical See-Through Head-Mounted Display with Addressable Focus Cues. IEEE Trans Vis Comput Graph. 16, 381–393, 2010.
Chen, H. S., Wang, Y. J., Chen, P. J. & Lin, Y. H. Electrically adjustable location of a projected image in augmented reality via a liquidcrystal lens. Opt Express 23, 28154–28162, 2015.
Staub-French S. and Fischer M., “Industrial Case Study of Electronic Design, Cost, and Schedule Integration”, Technical Report, Center for Integrated Facilities Engineering, Stanford University, CA., vol.122, 2001.
Messner, J.I., Riley, D.R., and Moeck, M. “Virtual Facility Prototyping for Sustainable Project Delivery”, Journal of Information Technology in Construction, vol. 11, 2006, p. 723-738.
Khanzode A., Fischer M., and Reed D. “Case Study of The Implementation of The Lean Project Delivery System (LPDS) using Virtual Building Technologies on a Large healthcare Project”. Proceeding 13th Annual Conference of the International Group for Lean Construction, IGLC-13, Sydney, Australia, 2005.