Article Number:
2024-08-29
Starting in 2026, due to the rapid pace of online publication, the JIT journal will assign an Article Number to each manuscript in place of traditional page numbers.
จุดมุ่งหมายและขอบเขต (Aim & Scope) ของวารสารวิทยาการสารสนเทศและเทคโนโลยีประยุกต์
จุดมุ่งหมาย (Aim)
วารสารวิทยาการสารสนเทศและเทคโนโลยีประยุกต์ (JIT) เป็นวารสารที่ทุกบทความที่จะเผยแพร่ในวารสารจะต้องพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer-reviewed) และเป็นวารสารที่เป็นแหล่งเผยแพร่บทความที่มีนโยบายแหล่งสารสนเทศแบบเสรี (Open-access) โดยมีเงื่อนไขคือผู้แต่งและผู้อ่านไม่เสียค่าใช้จ่ายใด ๆ ในการเผยแพร่บทความและอ่านบทความ โดยวารสารมีจุดมุ่งหมายที่จะเผยแพร่บทความวิจัย บทความปริทัศน์ และบทความวิชาการที่อยู่ในขอบเขตของวิทยาการสารสนเทศ เทคโนโลยี และหัวข้ออื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยเปิดรับทั้งบทความที่มุ่งเน้นทางด้านทฤษฎี และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี
วารสารวิทยาการสารสนเทศและเทคโนโลยีประยุกต์ ทำการเผยแพร่บทความวิจัยจำนวน 2 ฉบับต่อปี (issues/year) ในเดือนมกราคม - มิถุนายน และกรกฎาคม - ธันวาคม โดยเป็นการแผยแพร่ทางออนไลน์ หมายเลข ISSN: 2586-8136 (online) และ 2630-094X (print) ทั้งนี้ตั้งแต่ปี 2563 ทางวารสาร JIT ได้เผยแพร่บทความเฉพาะ ออนไลน์ เท่านั้น สำหรับการเผยแพร่บทความในวารสาร กองบรรณาธิการวารสารไม่มีนโยบายเรียกเก็บค่าธรรมเนียมการเผยแพร่บทความ ดังนั้น ผู้แต่งไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใด ๆ ทั้งสิ้น
ขอบเขตของงานวิจัย (Scope)
วารสารวิทยาการสารสนเทศและเทคโนโลยีประยุกต์พิจารณาเปิดรับบทความที่มุ่งเน้นทางด้านทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ โดยหัวข้องานวิจัยที่เปิดรับ ประกอบด้วย
ประเภทของบทความ (Types of Manuscripts)
วารสารวิทยาการสารสนเทศและเทคโนโลยีประยุกต์เปิดรับบทความ 3 ประเภทประกอบด้วย
กำหนดการเผยแพร่ (Publication Frequently)
วารสารวิทยาการสารสนเทศและเทคโนโลยีประยุกต์ (JIT) ทำการเผยแพร่บทความวิจัยจำนวน 2 ฉบับต่อปี (issues/year) ในเดือนมกราคม - มิถุนายน และกรกฎาคม - ธันวาคม โดยเป็นการแผยแพร่ทางออนไลน์เท่านั้น
การพิจารณาบทความ (Review Process)
บทความที่นำมาเผยแพร่ในวารสาร JIT จะต้องไม่เคยเผยแพร่ในเว็บไซต์ การประชุมวิชาการ หรือวารสารอื่นใดมาก่อน บทความที่ "คัดลอกผลงาน" จากบทความอื่นจะไม่ถูกตีพิมพ์ลงในวารสาร JIT
วารสาร JIT ใช้วิธีการพิจารณาบทความแบบ double-blind review โดยผู้แต่งจะต้องพิมพ์ชื่อและสถาบัน (Author name and affiliation) ลงในบทความที่จะจัดส่งด้วย แต่ทั้งนี้กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ (Reviewer) จะไม่สามารถมองเห็นข้อมูลของผู้แต่ง การพิจารณาบทความจะพิจารณาโดยกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจำนวนอย่างน้อย 3 ท่าน และผู้ทรงคุณวุฒิทั้งหมดมาจากหลากหลายสถาบัน และไม่ได้เป็นผู้เชี่ยวชาญที่อยู่ในสถาบันเดียวกันกับผู้แต่ง
เมื่อได้รับผลการพิจารณาจากกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จะเข้าสู่ขั้นตอนการพิจารณาจากบรรณาธิการ (Editor-in-Chief) โดยผลการพิจารณาประกอบด้วย ผ่านการพิจารณา (Acceptance) ขอให้ปรับแก้ไขบทความตามข้อเสนอแนะ (Revision) และปฏิเสธการเผยแพร่บทความ (Rejection)
รายละเอียดสำหรับการส่งบทความ (Submission) สามารถตรวจสอบได้จาก "ข้อมูลสำหรับผู้แต่ง" ทั้งนี้ หากมีข้อสงสัยในการส่งบทความกรุณาติดต่อที่อีเมล์ jit@msu.ac.th หรือ olarik.s@msu.ac.th
อยู่ในฐานข้อมูล
2024-08-29
Starting in 2026, due to the rapid pace of online publication, the JIT journal will assign an Article Number to each manuscript in place of traditional page numbers.
2024-01-03
The Journal of Applied Informatics and Technology (JIT) aims to publish high-quality research in applied informatics and technology. JIT then requests the author to submit the research/review/academic articles in only English language.
After this announcement, we will stop accepting Thai language articles starting February 1st, 2024.
** Please download updated journal template from thie URL: Updated template
2023-06-23
วันที่ 23 มิถุนายน 2566 ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) ได้ประกาศผลการประเมินคุณภาพวารสารใหม่เข้าสู่ฐานข้อมูล TCI ประจำปี พ.ศ. 2566 โดยวารสารวิทยาการสารสนเทศและเทคโนโลยีประยุกต์ได้รับการประเมินเข้าสู่ฐานข้อมูล TCI ฐาน 1 (TCI1) โดยรับรองตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2566 ถึง 31 ธันวาคม 2567
อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
Link: https://tci-thailand.org/?p=10125
ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 (2025): มกราคม - มิถุนายน (กำลังดำเนินการ)
สารบัญ
- A Study of Generation Z on Their Learning Styles, Online Learning Methods and Search Strategies (pp. 1-11)
- TalkTutorAI: Empowering English Language Proficiency through ChatGPT-Assisted Conversational Practice: A Case Study at Ubon Ratchathani Rajabhat University, Thailand (pp. 12-26)
- Smart Greenhouse System Based on Internet of Things using Information Flow Diagram and MQTT Connectivity (pp. 27-40)
- Developing a VR Map for the Faculty of Computer Science, Ubon Ratchathani Rajabhat University: A Design Science Approach (pp. 41-56)
- แอปพลิเคชันบนมือถือสำหรับการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารของนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนปลายด้วยเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม (หน้า 57-72)
- การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของแบบจำลองการจำแนกภาพผลไม้ส่งออกของไทย (หน้า 73-90)
- แนวทางการสื่อสารอัตลักษณ์สามธรรมสำหรับการท่องเที่ยวยังหวัดสกลนคร (หน้า 91-106)
- การพัฒนาแอปพลิเคชันสื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับสุภาษิตไทยสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 (หน้า 107-121)
- ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับเทคโนโลยีไลฟ์สตรีมมิงเพื่อซื้อสินค้าของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี :กรณีศึกษา แอปพลิเคชัน TikTok (หน้า 122-136)
- ปัจจัยที่มีผลต่อความชื่นชอบเกมบนมือถือสำหรับคนรุ่นแอลฟา โดยใช้กรอบการวิเคราะห์เกมแบบเอ็มดีเอ (หน้า 137-152)
- การตรวจจับความรุนแรงของแผลไหม้โดยใช้โมเดลการแบ่งส่วน: การเปรียบเทียบระหว่าง U-NET และ YOLOv8
- การประยุกต์ใช้ชุดสีกับการออกแบบโมเดลลวดลายธุงอีสาน 2 มิติ
เผยแพร่แล้ว: 2024-08-20