การพัฒนาระบบ GNSS ของประเทศไทยสำหรับภารกิจทางทหาร
Main Article Content
บทคัดย่อ
ระบบ GNSS มีบทบาทสำคัญในภารกิจทางทหารของประเทศไทย ทั้งในด้านการนำทาง การติดตามตำแหน่ง และการวางแผนยุทธวิธี อย่างไรก็ตาม การพึ่งพาระบบ GNSS จากต่างประเทศอาจส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ จึงมีความจำเป็นที่ประเทศไทยต้องพัฒนาระบบ GNSS ของตนเอง บทความนี้นำเสนอหลักการทำงานและองค์ประกอบของระบบ GNSS พร้อมแนวทางการออกแบบระบบ GNSS ของประเทศไทยโดยใช้โครงสร้างพื้นฐานที่มีอยู่ ได้แก่ การใช้เสาเรดาร์เป็นสถานีภาคพื้นดิน การเชื่อมต่อตัวรับสัญญาณ GPS ที่มีอยู่เข้ากับระบบ การพัฒนาดาวเทียมขนาดเล็ก และการทำงานร่วมกับระบบ GPS ของประเทศอื่น ๆ นอกจากนี้ยังกล่าวถึงประโยชน์และการประยุกต์ใช้ระบบ GPS ในภารกิจทางทหาร ความท้าทายในการพัฒนาระบบ และแนวทางในอนาคตสำหรับการพัฒนาและปรับปรุงระบบ การขยายขอบเขตการใช้งานไปสู่ภาคพลเรือน และความร่วมมือระหว่างหน่วยงานทางทหารและสถาบันวิจัยในประเทศ เพื่อให้ประเทศไทยมีระบบ GNSS ที่มีประสิทธิภาพ สามารถพึ่งพาตนเองได้ และสนับสนุนการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิชาการโรงเรียนนายเรือ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการโรงเรียนนายเรือ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ถือเป็นลิขสิทธิ์ของโรงเรียนนายเรือ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากโรงเรียนนายเรือก่อนเท่านั้น
References
Maidanov AK, Canbolat H, Atanov SK. Optimizing GPS and Gyroscope Data for Military Missions. In: Proceedings of the 2023 IEEE International Conference on Smart Information Systems and Technologies (SIST); 2023 May 4-6; Astana, Kazakhstan. Piscataway (NJ): IEEE; 2023. p. 527-31. doi: 10.1109/SIST58284.2023.10223559
Singh B. Global Missions. Reconstructing Japan's Security: The Role of Military Crises [online]. Edinburgh; 2020 [cited 2024 Jun 7]. Available from: https://doi.org/10.3366/ edinburgh/9781474446228.003.0005
กระทรวงกลาโหม, สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ (องค์การมหาชน) [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: ฝ่ายวิเคราะห์เทคโนโลยีป้องกันประเทศ; [ม.ป.ป.]. Future Warfare สงครามในอนาคต; 2566 [เข้าถึงเมื่อ 2567 มิ.ย. 8]; น. 1-5. เข้าถึงได้จาก: http://dspace.dti.or.th/jspui/bitstream/123456789/1289/1/Future%20 Warfare%20สงครามในอนาคต.pdf
สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: สำนักงานฯ; 2564. รายงานประจำปี 2562: สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) (สพธ.); 2564 [ปรับปรุงเมื่อ 2564 ก.พ. 10; เข้าถึงเมื่อ 2567 มิ.ย. 8]; น. 1-57. เข้าถึงได้จาก: https://www.dga.or.th/document-sharing/dga-e-book/annual-report/46958/
สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ [อินเทอร์เน็ต]. นนทบุรี: สถาบันฯ; 2565. แนวโน้มเทคโนโลยียานรบทางทหาร ปี ค.ศ. 2021-2030 (Combat Vehicle Trend 2021-2030); 2565; [เข้าถึงเมื่อ 2567 มิ.ย. 10]; น. 2-33. เข้าถึงได้จาก: http://dspace.dti.or.th/jspui/bitstream/123456789/3812/1/64-Q3%20P.02-33%20แนวโน้มเทคโนโลยียานรบทางทหาร%20ปี%20ค.ศ.%202021-2030.pdf
Guerova G, Simeonov T. Global Navigation Satellite System Monitoring of the Atmosphere. Berkeley, CA: Elsevier; 2021.
Springer B. GPS: Good Parenting Strategies: The No-Guilt Survival Guide for Parenting During the Pandemic and Beyond. Thousand Oaks, CA: Corwin; 2021.
Laksanakosan S, Chaowalit O. The Development of Location-Based Learning Model: A Case Study of Religious Sites in Sathorn [Doctoral dissertation of Arts]. Nakhon Pathom: Silpakorn University; 2022.
OECD. Venture capital investments by investee company. In: Entrepreneurship at a Glance 2016. Paris: OECD Publishing; 2016. Available from: https://doi.org/10.1787/entrepreneur_aag-2016-35-en
ธันย์ชนก คล่องแคล่ว. การศึกษาความเป็นไปได้ของระบบการจัดการจราจรอวกาศไปใช้ในเชิงพาณิชย์ = Feasibility study of commercialization of space traffic management: STM [วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต]. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2563.
เจตนิพัทธ์ กิตติบุญเกศ. การประเมินประสิทธิภาพของเครื่องรับสัญญาณดาวเทียมราคาประหยัดแบบหลายความถี่ด้วยเทคนิคการประมวลผลแบบจุดเดี่ยวความละเอียดสูงสาหรับการประยุกต์ใช้ในงานสำรวจด้วยอากาศยานไร้คนขับขนาดเล็ก = Performance of the low-cost multi-frequency GNSS receiver using precise point positioning technique for small unmanned aerial vehicle application วิทยานิพนธ์ปริญญาวิศกรรมศาสตรมหาบัณฑิต]. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2565.
ชญานนท์ เหล่านิพนธ์. การประเมินประสิทธิภาพของระบบการรังวัดสัญญาณดาวเทียมแบบจลน์ในทันทีโดยอาศัย โครงข่าย 4 วิธี ในเวลาเดียวกันสำหรับการใช้งานที่มีความแม่นยำสูง = Simultaneously performance assessment of four different network-based GNSS real-time kinematic methods for high precision applications วิทยานิพนธ์ปริญญาวิศกรรมศาสตรมหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2564.
Kim W, Son PW, Rhee JH, Seo J. Development of record and management software for GPS/loran measurements. In 2020 20th International Conference on Control, Automation and Systems, ICCAS 2020. IEEE Computer Society. 2020. p. 796-9. 9268359. (International Conference on Control, Automation and Systems). doi: 10.23919/ICCAS50221.2020.9268359
Wellenhof BH, Lichtenegger H. Wasle E. GNSS - Global Navigation Satellite System: GPS, GLONASS, Galileo and more. New York: Springer Wien; 2008.
Sickle JV. GPS and GNSS for Land Surveyors. 5th ed. Boca Raton: CRC Press; 2024.
Abdolkarimi E, Mosavi MR. Wavelet-adaptive neural subtractive clustering fuzzy inference system to enhance low-cost and high-speed INS/GPS navigation system. GPS Solut [Internet]. 2020 Jan [cited 2024 Jun 12];24(2):34. Available from: https://www.researchgate.net/ publication/338542367_Wavelet-adaptive_neural_subtractive_clustering_fuzzy_inference_system_to_enhance_low-cost_and_high-speed_INSGPS_navigation_system