เทคนิคการหาพื้นที่ทับซ้อนทางทะเลไทย-กัมพูชา ด้วยวิธี General Direction of the Coast และ Coastal Front
Main Article Content
บทคัดย่อ
สภาวะแวดล้อมทางกายภาพที่ไทยและกัมพูชามีร่วมกันในการแบ่งเขตแดนทางทะเล มิได้ทำให้ไหล่ทวีปหรือเส้นมัธยะที่แต่ละฝ่ายทำการประกาศฝ่ายเดียวเป็นเส้นเดียวกัน พื้นที่ทับซ้อนทางทะเลระหว่างไทยและกัมพูชาเกิดขึ้นจากความแตกต่างระหว่างการประกาศเขตไหล่ทวีปที่มีพื้นฐานของเส้นมัธยะทั้งแบบเคร่งครัดและแบบปรับแต่ง โดยเหตุผลและปัจจัยที่แต่ละฝ่ายนำมาประกอบการพิจารณานั้น มีทั้งความเป็นนามธรรมและรูปธรรม จุดประสงค์ของบทความทางวิชาการนี้เพื่อหาพื้นที่ทับซ้อนทางทะเลระหว่างไทยและกัมพูชาด้วยวิธี General Direction of the Coast และ Coastal Front ภายใต้หลักการของ Land Dominates the Sea โดยต้องการให้พื้นที่อ้างสิทธิ์ทับซ้อนทางทะเลระหว่างไทยและกัมพูชานั้น มีความเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น และสามารถนำไปสู่ขั้นตอนการแบ่งเขตทางทะเลด้วยวิธีการต่าง ๆ ทั้งนี้ขอบเขตของการศึกษาจะจำกัดอยู่เหนือแลตติจูด 11 องศาเหนือ อีกทั้งเป็นการพิจารณาและข้อคิดเห็นของผู้แต่งเท่านั้น
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิชาการโรงเรียนนายเรือ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการโรงเรียนนายเรือ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ถือเป็นลิขสิทธิ์ของโรงเรียนนายเรือ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากโรงเรียนนายเรือก่อนเท่านั้น
References
Cambodian Kret No. 439-72/PRK, 1 July 1972
ประกาศ กำหนดไหล่ทวีปของประเทศไทยด้านอ่าวไทย. ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 90 ตอนที่ 60 หน้า 1 (ลงวันที่ 18 พฤษภาคม 2516).
International Hydrographic Organization (IHO). A Manual on Technical Aspects of the United Nations Convention on the Law of the Sea-1982 (TALOS): (C-51 Edition 6.0.0) [Internet]. 2020 [cited 2023 Dec 25]. Available from: https://iho.int/uploads/user/pubs/cb/c-51/C_51_Ed600_052020.pdf
Wikipedia [Internet]. [place unknown]: [publisher unknown]; 2023. Maritime Delimitation in the Black Sea case; 2023 [updated 2023 Jul 9; cited 2023 Dec 26]; [about 1 screen]. Available from:https://en.wikipedia.org/wiki/Maritime_Delimitation_in_the_Black_Sea_case
Cleverly R. The Disproportionality Test: Myth or Method. Advisory Board for the Law of the Sea Conference; 2015 Oct; Monaco. [place unknown]: [publisher unknown]; 2015.
Brown J, Cleverly R. Maritime Limits and Boundaries. International Foundation for the Law of the Sea: Summer Academy; 2015 Jul 30-31; Hamburg. [place unknown]: [publisher unknown]; 2015.
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง อ่าวไทยตอนใน. ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 76 ตอนที่ 91 ฉบับพิเศษ หน้า 1 (ลงวันที่ 22 กันยายน 2502).
International Court of Justice [Internet]. The Hague: International Court of Justice; c2024. Case Concerning Territorial and Maritime Dispute between Nicaragua and Honduras in the Caribbean Sea (Nicaragua v. Honduras); 2007 [cited 2023 Nov 15]; [about 1 screen]. Available from https://www.icj-cij.org/case/120
Schofield, Clive Howard. Maritime boundary delimitation in the gulf of Thailand [master's thesis on the Internet]. Durham: Durham University; 1999 [cited 2023 Nov 1]. Available from: http://etheses.dur.ac.uk/4351/