ข้อจำกัดด้านเทคนิคของจุดเริ่มต้นในการแบ่งเขตแดนทางทะเลระหว่างไทย-กัมพูชา

Main Article Content

สมาน ได้รายรัมย์

บทคัดย่อ

      ผลงานทางวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายปัจจัยด้านเทคนิคที่เกี่ยวข้องกับงานด้านอุทกศาสตร์เช่น เทคนิคการสำรวจและการสร้างแผนที่ ที่ส่งผลต่อการแบ่งเขตแดนทางทะเล โดยการนำข้อมูลจุดเริ่มต้นในการแบ่งเขตแดนทางทะเลระหว่างไทยและกัมพูชาในอ่าวไทยทั้งของไทยและกัมพูชามาวิเคราะห์เปรียบเทียบหาความแตกต่าง และความเป็นมาที่แต่ละฝ่ายใช้เป็นจุดเริ่มต้นในการแบ่งเขตแดนทางทะเลระหว่างกัน โดยจะไม่กล่าวถึงการแบ่งเขตแดนออกไปในทะเล นอกจากนี้ยังจะได้อธิบายถึงข้อจำกัดด้านเทคนิคต่างๆ เกี่ยวกับการเลือกใช้แผนที่เพื่อการใช้งานด้านการแบ่งเขตแดนทางทะเล เช่น มาตราส่วน ละติจูดกลาง เป็นต้น

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

ประกาศ เรื่อง ใช้อนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล พ.ศ. 2512. ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 86, ตอนที่ 44 หน้า 450 (ลงวันที่ 29 เมษายน 2501).

Cambodian Kret No. 439-72/PRK, 1 July 1972

Schofield, Clive Howard. Maritime boundary delimitation in the gulf of Thailand [master's thesis on the Internet]. Durham: Durham University; 1999 [cited 2022 Aug 1]. Available from: http://etheses.dur.ac.uk/4351/

Division for Ocean Affairs and the Law of the Sea. Decree of the Council of State of

July 1982 [Internet]. New York [cited 2022 Aug 19]. Available from:

https://www.un.org/Depts/los/LEGISLATIONANDTREATIES/PDFFILES/KHM_1982_Decree.pdf

ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง เส้นฐานตรงและน่านน้ำภายในของประเทศไทย พ.ศ. 2534.ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 87 ตอนที่ 52 หน้า 4 (ลงวันที่ 11 มิถุนายน 2513).

ประกาศ กำหนดไหล่ทวีปของประเทศไทยด้านอ่าวไทย. ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 90 ตอนที่ 60 หน้า 1 (ลงวันที่ 18 พฤษภาคม 2516).

สุรเกียรติ์ เสถียรไทย. พื้นที่ทับซ้อนทางทะเล ไทย-กัมพูชา : ทางเลือกและข้อเสนอแนะ: จุลสารความมั่นคงศึกษา ฉบับที่ 93. กรุงเทพฯ: สถาบันการข่าวกรอง, สำนักข่าวกรองแห่งชาติ; 2554.

สมาน ได้รายรัมย์. การกำหนดเส้นฐานตรงในน่านน้ำไทย. วารสารวิชาการโรงเรียนนายเรือด้านสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศึกษาศาสตร์. 2564;9(1):67–80.

ภุชงค์ วงษ์เกิด, ชูเกียรติ วิเชียรเจริญ. การแปลงพื้นหลักฐานแผนที่สำหรับประเทศไทย. วิศวกรรมสารฉบับวิจัยและพัฒนา. 2543;1:51.

International Hydrographic Organization (IHO). A Manual on Technical Aspects of the United Nations Convention on the Law of the Sea-1982 (TaLOS): (C-51 Edition 6.0.0) [Internet]. 2020 [cited 2022 Aug 25]. Available from: https://iho.int/uploads/user/pubs/cb/c-51/C_51_Ed600_052020.pdf

International Maritime Organization (IMO) [Internet]. London: International Maritime Organization; c2019. United Nations Convention on the Law of the Sea; 2019 [cited 2022 Aug 29]; [about 1 screen]. Available from https://www.imo.org/en/ourwork/legal/pages/unitednationsconventiononthelawofthesea.aspx

กรมอุทกศาสตร์ กองทัพเรือ. หนังสือที่ระลึกวันคล้ายวันสถาปนากรมอุทกศาสตร์ ครบรอบ 94 ปี วันที่ 16 มกราคม พ.ศ.2558. กรุงเทพฯ: กรมฯ; 2558.