การประยุกต์ใช้ข้อมูลจากสถานีรับสัญญาณดาวเทียมอ้างอิงถาวรสำหรับตรวจสอบการเคลื่อนตัวของผนังเหมืองผาแดง จังหวัดตาก

ผู้แต่ง

  • ภาณุพล เล็กประเสริฐ สาขาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก
  • พีรภพ โพธิ์พงษ์ สาขาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก

DOI:

https://doi.org/10.14456/rmutlengj.2024.7

คำสำคัญ:

การรังวัดด้วยดาวเทียม , สถานีรับสัญญาณดาวเทียมอ้างอิงถาวร , ดินถล่ม , งานเหมืองแร่

บทคัดย่อ

สถานีรับสัญญาณดาวเทียมอ้างอิงถาวรเป็นสถานีที่จัดสร้างไว้สำหรับการรับและส่งข้อมูลสัญญาณดาวเทียมไปยังส่วนควบคุมซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของระบบโครงข่ายจลน์ในทันที ปัจจุบันจะใช้สำหรับงานสำรวจแปลงที่ดินจัดสร้างโดยโดยกรมที่ดิน  งานวิจัยนี้จึงนำข้อมูลสัญญาณดาวเทียมจากสถานีรับสัญญาณดาวเทียมอ้างอิงถาวรมาประมวลเป็นสถานีฐานสำหรับตรวจสอบการเคลื่อนตัวผนังเหมืองผาแดงจังหวัดตากโดยใช้การรังวัดแบบสถิตอย่างเร็ว โดยแบ่งการทดสอบเป็น 3 ขั้นตอนคือ 1. การทดสอบหาสถานีรับสัญญาณดาวเทียมอ้างอิงถาวรที่เหมาะสมสำหรับพื้นที่เหมืองผาแดง พบว่าสถานีแม่สอด จังหวัดตาก มีความเหมาะสมมากที่สุด ซึ่งดีกว่าการใช้สถานีรับสัญญาณดาวเทียมอ้างอิงถาวรที่อยู่ไกลมาร่วมประมวลผล 2. ทดสอบความถูกต้องของค่าพิกัดโดยใช้ค่าพิกัดที่ได้จากการรังวัดด้วยดาวเทียมมาเปรียบเทียบกับค่าพิกัดที่ได้จากกล้องประมวลผลรวม พบว่าค่ามีความถูกต้องของค่าพิกัดทางราบและทางดิ่งเฉลี่ยเท่ากับ ± 0.020 เมตรและ ± 0.040 เมตร ตามลำดับ 3. การทดสอบหาการเคลื่อนตัวของผนังเหมืองผาแดงโดยกำหนดจุดทดสอบ 12 จุดที่ครอบคลุมพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดการเคลื่อนตัว พบว่าผนังเหมืองผาแดงมีการเคลื่อนตัวที่น้อยมากโดยค่าพิกัดแนวราบมีเคลื่อนตัวไม่เกิน 0.002 เมตร และพิกัดแนวดิ่งมีการขยับตัวไม่เกิน 0.003 เมตร

References

Thammanu S, Han H, Ekanayake EM, Jung Y, Chung J. The Impact on Ecosystem Services and the Satisfaction Therewith of Community Forest Management in Northern Thailand. Sustainability. 2021; 13(23):13474.

The Information Technology Foundation under the Initiative of Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn. The Information Technology Foundation under the Initiative of Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn. learning promotion project for the conservation and restoration of the environment due to the Royal Initiative Tak Province Available from: https://www.princess-it.org/th/ [Accessed 18th September 2019].

Du Q, Li G, Zhou Y, Chai M, Chen D, Qi S, Wu G. Deformation monitoring in an alpine mining area in the Tianshan Mountains based on SBAS-InSAR technology. Advances in Materials Science and Engineering. 2021; 17(1):1-5.

Ren H, Zhao Y, Xiao W, Hu Z. A review of UAV monitoring in mining areas: Current status and future perspectives. International Journal of Coal Science & Technology. 2019:320-33.

Vrublova D, Kapica R, Gibesova B, Mudruňka J, Struś A. Application of GNSS technology in surface mining. Geodesy and cartography. 2016; 42(4):122-8.

Brown N, Kaloustian S, Roeckle M. Monitoring of open pit mines using combined GNSS satellite receivers and robotic total stations. InSlope Stability 2007: Proceedings of the 2007 International Symposium on Rock Slope Stability in Open Pit Mining and Civil Engineering 2007; pp.417-429.

Boonprakob T, Dumrongchai P. The Study of Effects on Positioning Accuracy Using Real Time Kinematic Satellite Survey in Mae Moh Open-Pit Coal Mine. Engineering Journal Chiang Mai University. 2020; 27(2):78–90. Thai.

Keawaram B, Dumrongchai P. Accuracy

Assessment of Survey Methods for Volume

Determination of Overburden and Coal

Excavations in Large Open Pit Mines.

Engng.jCMU. 2019;26(1):59–79. Thai.

Department of Lands. RTK GNSS Network.

Bangkok; 2019. Thai.

Hull WV. Geometric geodetic accuracy standards

and specifications for using GPS relative

positioning techniques. National Geodetic

Survey, NOAA; 1989.

Charoenkalunyuta T, Satirapod C, Lee HK, Choi

YS. Performance of network-based RTK GPS in

low-latitude region: A case study in Thailand.

Engineering Journal. 2012;16(5):95–103. Thai.

Jing-Xiang G, Hong H. Advanced GNSS

technology of mining deformation monitoring.

Procedia Earth and Planetary Science. 2009;

(1):1081-8.

Tumsri N, Saetern W, Sanitpod S. Movement

Monitoring of the Phadaeng Mine Walls by

Survey Methods by using the Base Station Data

from the Department of Lands and Survey

Methods with the Total Stations[dissertation].

Rajamangala University of Technology Lanna

Tak; 2019.Thai.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-16

How to Cite

เล็กประเสริฐ ภ. ., & โพธิ์พงษ์ พ. (2024). การประยุกต์ใช้ข้อมูลจากสถานีรับสัญญาณดาวเทียมอ้างอิงถาวรสำหรับตรวจสอบการเคลื่อนตัวของผนังเหมืองผาแดง จังหวัดตาก. วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา, 9(1), 65–73. https://doi.org/10.14456/rmutlengj.2024.7