การปรับปรุงประสิทธิภาพสายการผลิต กรณีศึกษาโรงงานประกอบรถยนต์

ผู้แต่ง

  • วิเรขา คำจันทร์ สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกลและการผลิต คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร
  • อธิวัฒน์ ธันย์วัชรมงคล สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกลและการผลิต คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร
  • ศักดิ์ดา คำจันทร์ สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกลและการผลิต คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร

DOI:

https://doi.org/10.14456/rmutlengj.2021.12

คำสำคัญ:

การปรับปรุงประสิทธิภาพ, แผนภูมิคน-เครื่องจักร, เทคนิคการตั้งคำถาม, หลักการลดความสูญเปล่า, เวลาว่าง

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้ได้นำเสนอการปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานของพนักงานสถานีงานทากาวกระจกหน้ารถยนต์ กรณีศึกษาโรงงานประกอบรถยนต์ โดยประยุกต์ใช้แผนภูมิคน-เครื่องจักร (Man-Machine Chart) ในการวิเคราะห์การปฏิบัติงาน รวมถึงการใช้เทคนิคการตั้งคำถาม (5W1H) ร่วมกับหลักการลดความสูญเปล่า (ECRS) เพื่อใช้แก้ไขปัญหาสัดส่วนเวลาการทำงานของพนักงาน ที่น้อยเมื่อเทียบกับเวลาว่าง (Idle Time) ที่เกิดขึ้น หลังทำการปรับปรุงการทำงาน สามารถลดจำนวนพนักงานจาก 3 คน เหลือเพียง 1 คน โดยรอบเวลาการทำงาน (Cycle Time) ยังคงเท่าเดิม คือ 120 วินาทีต่อชิ้น ประสิทธิภาพการทำงานของพนักงาน เดิมร้อยละ 58.33 หลังทำการปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานของพนักงานเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 100 สามารถลดต้นทุนด้านค่าแรงของพนักงานลงจากเดิม 54,000 บาทต่อเดือนต่อกะการทำงาน ลดลงเหลือ 18,000 บาทต่อเดือนต่อกะการทำงาน

Downloads

Download data is not yet available.

References

[1] Charoenchai N.Motion and time study. Thailand: Department of Industrial Enineering, Faculty of Engineering, Khon Kean University: 2011. p.39. Thai.
[2] Khamjan W, Plianphueng S, Khamjan, S. Guidelines on increasing production efficiency a case study of bread factory. Proceeding of the 5th Rajamangala Manufacturing and Management Technology Conference; 2020 Sep 3-4; Chanthaburi; Thailand. p. 279-283. Thai.
[3] Klinmon, S. Production efficiency improvement in lens surface grinding process. Thesis. Burapha University, Thailand: 2016, p.27-32. Thai.
[4] Aksorntham, S. Reducing defects in glass bottle labeling process: A case study ,Satoerilaifresh sugar factory, J Thonburi University (Sciences and Technology). 2018; 2(1):9-21. Thai.
[5] Sapparoj, P. Production analysis of HDPE plastic bottle industry by simulation program. Thesis. King Mongkuts University of Technology North Bangkok, Thailand: 2018. p.8. Thai.
[6] Suwanna, L. Packaging Cost Reduction using ECRS Method Case Study: Lamp Manufacturer. Thesis. Sripathum University, Thailand: 2017. p.34-71. Thai.
[7] Keereeruk R. Efficiency improvement of picking full case process in distribution center. Independent Study Department of industrial engineering, Faculty of engineering, Chiangmai University, 2017.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-08

How to Cite

คำจันทร์ ว. ., ธันย์วัชรมงคล อ. ., & คำจันทร์ ศ. . (2021). การปรับปรุงประสิทธิภาพสายการผลิต กรณีศึกษาโรงงานประกอบรถยนต์. วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา, 6(2), 56–63. https://doi.org/10.14456/rmutlengj.2021.12