การประเมินเทคนิคสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์สำหรับเชื่อมต่อภาพถ่ายทางรังสีเพื่อการวินิจฉัยกระดูกรยางค์

ผู้แต่ง

  • ถิรวุฒิ โรจนอัมพวัน สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
  • พรชัย พฤกษ์ภัทรานนต์ สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
  • สาวิตร์ ตัณฑนุช สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
  • นัที อินา ภาควิชารังสีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
  • จงวัฒน์ ชีวกุล ภาควิชารังสีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

DOI:

https://doi.org/10.14456/rmutlengj.2018.12

คำสำคัญ:

เชื่อมต่อภาพ, สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ 2 มิติ, เทคนิคหน้าต่าง

บทคัดย่อ

บทความชิ้นนี้กล่าวถึงอัลกอริทึมการเชื่อมต่อภาพถ่ายทางรังสีเพื่อการวินิจฉัยกระดูกรยางค์โดยอาศัยความสัมพันธ์ของค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์มาช่วยระบุตำแหน่งในการเชื่อมต่อ ซึ่งใช้ภาพถ่ายทางรังสีที่ได้มาจากการถ่ายหุ่นจำลองมนุษย์สำหรับสาธิตฝึกปฏิบัติการถ่ายรังสี และใช้เทคนิคเพื่อลดระยะเวลาในการประมวลผลภาพโดยการกรองสัญญาณและลดขนาดภาพ ประกอบกับการใช้เทคนิคในการสร้างกรอบสี่เหลี่ยมหรือหน้าต่างล้อมรอบพิกเซลของภาพ เพื่อระบุตำแหน่งในการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ แทนการเทียบค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ทุก ๆ พิกเซลในภาพ ซึ่งผลจากการทดสอบค่าความถูกต้องในการเชื่อมต่อภาพถ่ายทางรังสีกระดูกรยางค์ส่วนบนและกระดูกรยางค์ส่วนล่างพบว่าสูงถึง 97.60 เปอร์เซ็นต์และ 98.22 เปอร์เซ็นต์ตามลำดับ

Downloads

Download data is not yet available.

References

1. ข้อมูลสถิติจำนวนผู้สูงอายุประเทศไทยประจำปี 2559. Available from: https://www.dop.go.th/th/Know /1/51 [Accessed 20th November 2017].
2. Fan Y, Yan H, Zhen ZD, Ang Y. Improvement of automated image stitching system for dr x-ray images. Comput Biol Med. 2016;71: 108-14.
3. Patil VP, Gohaatre UB. Performance comparison of image stitching methods under different illumination conditions. Int J Eng Technol Sci Res. 2017;4(9):249-59.
4. Rankov V, Locke RJ, Edens RJ, Barber PR, Vojnovic B. An algorithm for image stitching and blending. In: Conchello JA, Cogswell CJ, Wilson T, editors.Three-dimensional and multidimen-sional microscopy: Image acquisition and pro-cessing 12; 2005 Mar, p. 190-99.
5. Paudel K. Stitching of x-ray image. thesis. Uppsala university; 2012.
6. Bushberg JT, Seibert JA, Leidholdt JR EM, Boone JM. X-ray production x-ray tubes and x-ray generators. In: Mitchell CW, editor. The essential physics of medical imaging. China: Lippincott Williams & Wilkins:2012: p. 171-206.
7. Sreegadha GS. Image Interpolation Based On Multi Scale Gradients. In: procedia. comput. sci. j. 2016; 85:713-24.
8. Fadnavis S. Image interpolation techniques in digital image processing: an overview. Int J Eng Res App. 2014;4(10):70-3.
9. Bracewell RB. Two-dimensional convolution. In: Oppenheim AV, editor. Two-dimensional imag-ing. New Jersey: Prentice-Hall;1995. p. 179-87.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-02-21

How to Cite

โรจนอัมพวัน ถ., พฤกษ์ภัทรานนต์ พ., ตัณฑนุช ส., อินา น., & ชีวกุล จ. (2019). การประเมินเทคนิคสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์สำหรับเชื่อมต่อภาพถ่ายทางรังสีเพื่อการวินิจฉัยกระดูกรยางค์. วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา, 3(2), 38–45. https://doi.org/10.14456/rmutlengj.2018.12