การศึกษาการหาค่าที่เหมาะสมจากแบบจำลองพีไอดี โดยใช้วิธีพื้นผิวตอบสนอง

Main Article Content

อามิณฑ์ หล้าวงศ์
ศุภกิจ เศิกศิริ

บทคัดย่อ

การหาค่าที่เหมาะสมของระบบควบคุมพีไอดีในโรงงานอุตสาหกรรมจะใช้วิธีการลองผิดลองถูกในปรับค่าตัวแปรอัตราขยายสัดส่วน(Kp) อัตราขยายปริพันธุ์ (Ki) และ อัตราขยายอนุพันธุ์ (Kd) แล้วสังเกตการณ์เปลี่ยนแปลงการทำงานของอุปกรณ์ งานวิจัยนี้จึงได้เสนอวิธีการหาค่าที่เหมะสมด้วยวิธีพื้นผิวตอบสนอง จากการทดลองในแบบจำลองพีไอดีในไมโครซอฟต์เอ๊กเซลล์ จากผลการทดลองพบว่าค่าที่เหมาะสมของระบบควบคุมพีไอดีที่มีความผิดพลาดต่ำสุดเทียบกับเป้าหมาย คือ Kp=5,Ki=1,Kd=1 มีค่าความผิดพลาด 38.18 และมีค่าสหสัมพันธ์ R2= 99.07 ซึ่งสามารถใช้เป็นวิธีที่หาค่าที่เหมาะสมในการควบคุม

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กอบเดช วงค์คินี, บัญชา ป้อมสุวรรณ และ วันจักริ์ เล่นวารี. (2555). การออกแบบตัวควบคุมแบบป้อนไปข้างหน้าสำหรับระบบควบคุมอุณหภูมิของเครื่องทำน้ำอุ่น. วารสารวิจัย มข, 17(30), 459–468.

ชาญณรงค์ สายแก้ว. (2557). สถิติและการออกแบบการทดลองเชิงวิศวกรรม. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ชาตรี หอมเขียว, วรพงค์ บุญช่วยแทน และ สุรสิทธิ์ ระวังวงศ์. (2560). พารามิเตอร์การผลิตที่เหมาะสมที่สุดของวัสดุเชิงประกอบพอลิเอทิลีนความหนาแน่นสูงและผงไม้ยางพาราโดยใช้การออกแบบบ็อก-เบห์นเคน. วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 27(2), 315–328.

ธีร์ธวัช สิงหศิริ. (2557). การหาสภาวะที่เหมาะสมในการผลิตไปโอดีเซลจาดน้ำมันไขไก่โดยวิธีพื้นผิวตอบสนอง. วารสารวิจัยพลังงาน, 11(2), 54–65.

พุทธาวุฒิ ลีกุลธร และ สมชาติ ศรีสกุลเดียว. (2561). การสังเคราะห์ตัวควบคุมพีไอดีโหมดกระแส โดยใช้วงจรขยายสายพานกระแสส่งผ่านความนำ. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 20(1), 213–223.

ภูมินทร์ รักษากิจ, ธีรเดช วุฒิพรพันธ์ และ กุศล พิมาพันธุ์ศรี. (2558). การลดปริมาณของเสียในกระบวนการกลั่นสารอัลลิลคลอไรด์ โดยใช้การทดลองพื้นผิวตอบสนอง. วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 25(3), 393–403.

วิศวะ มะมา และ ธนา ราษฎร์ภักดี. (2560). การพัฒนากฎการควบคุมพีไอดีสำหรับอุปกรณ์ขับเร้าแบบ เปิด/ปิด. วารสารวิศวกรรมฟาร์มและเทคโนโลยีการควบคุมอัตโนมัติ, 3(1), 19–24.

สุพรพิศ ณ พิบูลย์. (2558). กระบวนการอบแห้งปลากุเลาด้วยเครื่องอบพลังงานไฟฟ้า โดยใช้การควบคุมอุณหภูมิแบบพีไอดี. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 7(1), 1–11.

สมศักดิ์ แก้วพลอย และ กุลยุทธ บุญเซ่ง. (2557). การออกแบบการทดลองเพื่อหาค่าที่เหมาะ สมในกระบวนการอบไม้ยางพารา. วารสารวิจัย มข, 19(2), 261–221.

อิทธิพล วรพันธ์, ช่วงชัย ชุปวา และ ชวลิต ถิ่นวงศ์พิทักษ์. (2556). การหาสภาวะที่เหมาะสมในกระบวนการเชื่อมด้วยความเสียดทานของเหล็ก AISI 1015 โดยวิธีพื้นผิวตอบสนอง. วารสารวิจัย มข, 18(6), 909–924.

Kumar, M., Prasad, D., Giri, B. S., & Singh, R. S. (2019). Temperature control of fermentation bioreactor for ethanol productionusing IMC-PID controller. Biotechnology Reports, Doi: 10.1016/j.btre.2019.e00319.

Yadav, S. P., & Tripathi, V. K. (2016). A Case Study of DC Motor Speed Control with PID Controller through MAT LAB. International Journal of Advanced Research in Computer and Communication Engineering, 5(5), 1008-1011.

Karade, V., Sutar, S., & Shinde, A. (2018). Tuning of PID Controller for Temperature Loop. International Journal of Innovative Research in Science, Engineering and Technology, 7(5), 4874-4879.