การติดตามพืชพรรณบริเวณป่าพรุคำชะโนดในช่วงฤดูแล้ง ด้วยดัชนีความแตกต่างพืชพรรณ
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อบ่งบอกแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงพืชพรรณบริเวณป่าพรุคำชะโนดในช่วงต้นฤดูแล้ง โดยใช้ดัชนีความแตกต่างพืชพรรณ (NDVI) ในการบ่งบอกความหนาแน่นของพืชพรรณในป่าพรุคำชะโนดร่วมกับการวิเคราะห์ภาพถ่ายดาวเทียม Landsat ผลการวิจัยพบว่าแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงค่า NDVI เฉลี่ยของป่าพรุมีแนวโน้มลดลงเมื่อเทียบกับอดีต โดยมีค่าพิสัยของ NDVI เฉลี่ยของป่าพรุเท่ากับ 0.23-0.53 และมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.43 นอกจากนี้พบว่าปัจจัยที่อาจส่งผลให้ค่า NDVI มีความผิดปกติในบางฤดูกาล คือ ภัยแล้งและระดับความชุ่มชื้นของพื้นที่รอบข้าง
Article Details
บท
บทความวิจัย
References
ณพวัศกช์ เดชชาตรี, กฤตติกา แสนโภชน์, อรุณศรี อื้อศรีวงศ์, และ ธนกฤต ทุริสุทธิ์. (2560). ยุทธศาสตร์การจัดการแหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์คำชะโนด อำเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี. วารสารมนุษย์ศาสตร์สังคมศาสตร์, 34(3), 224–246.
ปัญญา ติดมา และ กมล จิตศักดิ์. (2546). การศึกษาป่าพรุคำชะโนด:บ้านโนนเมือง ตำบลบ้านม่วง อำเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี. กรุงเทพมหานคร: กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช.
พลธรรม์ จันทร์คำ. (2551). พญานาค: จากอุดมการณ์ที่เมืองคำชะโนดสู่กระบวนการทำให้เป็นสินค้า. วารสารสำนักบัณฑิตอาสาสมัคร, 5(1), 1-21.
Allen, C. D., et al. (2010). A global overview of drought and heat-induced tree mortality reveals emerging climate change risks for forests. Forest Ecology and Management, 259(4), 660–684.
Bounoua, L., et al. (2000). Sensitivity of Climate to Changes in NDVI. Journal of Climate, 13(13), 2277–2292.
Crisp, M. D., Isagi, Y., Kato, Y., Cook, L. G., & Bowman, D. M. (2010). Livistona palms in Australia: Ancient relics or opportunistic immigrants?. Molecular Phylogenetics and Evolution, 54(2), 512–523.
Dowe, J. L. (2009). A Taxonomic Account of Livistona R. Br. (Arecaceae). A Taxonomic Account of Gardens’ Bulletin Singapore, 60(2), 185–344.
Laumonier, Y. (1997). The Vegetation and Physiography of Sumatra. Springer Netherlands. Retrieved August 9, 2017, from http://www.springer. com/gp/book/9780792337614
Pettorelli, et al. (2005). Using the satellite-derived NDVI to assess ecological responses to environmental change. Trends in Ecology & Evolution, 20(9), 503–510.
Sturrock, et al. (2011). Climate change and forest diseases. Plant Pathology, 60(1), 133–149.
ปัญญา ติดมา และ กมล จิตศักดิ์. (2546). การศึกษาป่าพรุคำชะโนด:บ้านโนนเมือง ตำบลบ้านม่วง อำเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี. กรุงเทพมหานคร: กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช.
พลธรรม์ จันทร์คำ. (2551). พญานาค: จากอุดมการณ์ที่เมืองคำชะโนดสู่กระบวนการทำให้เป็นสินค้า. วารสารสำนักบัณฑิตอาสาสมัคร, 5(1), 1-21.
Allen, C. D., et al. (2010). A global overview of drought and heat-induced tree mortality reveals emerging climate change risks for forests. Forest Ecology and Management, 259(4), 660–684.
Bounoua, L., et al. (2000). Sensitivity of Climate to Changes in NDVI. Journal of Climate, 13(13), 2277–2292.
Crisp, M. D., Isagi, Y., Kato, Y., Cook, L. G., & Bowman, D. M. (2010). Livistona palms in Australia: Ancient relics or opportunistic immigrants?. Molecular Phylogenetics and Evolution, 54(2), 512–523.
Dowe, J. L. (2009). A Taxonomic Account of Livistona R. Br. (Arecaceae). A Taxonomic Account of Gardens’ Bulletin Singapore, 60(2), 185–344.
Laumonier, Y. (1997). The Vegetation and Physiography of Sumatra. Springer Netherlands. Retrieved August 9, 2017, from http://www.springer. com/gp/book/9780792337614
Pettorelli, et al. (2005). Using the satellite-derived NDVI to assess ecological responses to environmental change. Trends in Ecology & Evolution, 20(9), 503–510.
Sturrock, et al. (2011). Climate change and forest diseases. Plant Pathology, 60(1), 133–149.