การประยุกต์ใช้สัญญาณสุ่มขาวแบบเกาส์สำหรับการสร้างแบบจำลองระบบไม่เชิงเส้น
คำสำคัญ:
Gaussian White Noise signal, Circular Buffer, Goyder’s techniqueบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้ได้นำเสนอการแยกฟังก์ชันถ่ายโอนเชิงเส้นของระบบไม่เชิงเส้น โดยอาศัยคุณสมบัติเชิงตั้งฉากของสัญญาณสุ่มขาวแบบเกาซ์เป็นสัญญาณที่ทางเข้า สัญญาณที่ทางเข้าและทางออกจะถูกเก็บอย่างต่อเนื่องแบบเวลาจริงเพื่อนำสัญญาณมาทำการเฉลี่ยและเพื่อมิให้ต้องใช้หน่วยความจำมากเกินไปจึงได้ประยุกต์ใช้การเก็บข้อมูลแบบวงกลม การทดสอบโดยใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์พบว่าวิธีการวัดสัญญาณด้วยวิธีของกอยเดอร์สามารถแยกสัญญาณเชิงเส้นออกมาได้ดี และเมื่อนำฟังก์ชันถ่ายโอนที่ได้ไปคำนวณหาพารามิเตอร์เชิงเส้นของระบบ พบว่าให้ผลถูกต้องแม่นยำและมีความผิดพลาดน้อยกว่า 0.003% จุดอ่อนของการใช้วิธีนี้คือต้องเสียเวลาค่อนข้างมากเนื่องจากต้องทำการเฉลี่ยสัญญาณเป็นเวลานานและต้องตรวจสอบคุณภาพของฟังก์ชันถ่ายโอนด้วยสายตา การวัดสัญญาณจะยุติเมื่อฟังก์ชันถ่ายโอนมีความเสถียร
References
Schetzen M. The Volterra & Wiener theory of nonlinear systems. New York: John Wiley & Sons; 1980.
Goyder HGD. Vibration analysis and identification of nonlinear structures. United Kingdom: University of Manchester;1985.
Semidor-Signoret C. Comporterments de hauts polymeres a grange vitesse de deformation, identification d’effet non lineares. [These de 3eme. Cycle en mecanique physique]. Bordeaux, France: Universite de Bordeaux I; 1981.
Boonmalert P, Chouychai T. The first and second order transfer function of hysteresis damping non-linear system. Kasem Bundit Engineering Journal 2019;9(1):152-65.
Boonmalert P, Chouychai T. Nonlinear parameter extraction of SDOF viscous damping system. Kasem Bundit Engineering Journal 2020;10(1):81-92.
Chapra SC, Canale RP. Numerical methods for engineering. 7th ed. New York, USA: McGraw-Hill; 2015.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ลิขสิทธิ์
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวิศวกรรมสารเกษมบัณฑิต ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ห้ามนำข้อความทั้งหมดไปตีพิมพ์ซ้ำ ยกเว้นได้รับอนุญาตจากมหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตแล้ว
ความรับผิดชอบ
หากบทความที่ได้รับการตีพิมพ์นั้นเป็นบทความที่ละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้อื่นหรือมีความไม่ถูกต้องในเนื้อหาของบทความ ผู้เขียนบทความนั้นต้องเป็นผู้รับผิดชอบ