ปัจจัยที่มีผลต่อการเดินทางช่วงแรกของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า
คำสำคัญ:
First mile, Mass Transit System, Mode Choice, Modellingบทคัดย่อ
ปัญหาการจราจรในกรุงเทพมหานครเป็นปัญหาสำคัญที่ก่อให้เกิดการสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ซึ่งภาครัฐได้ให้ความสำคัญในการแก้ไขปัญหาด้วยการใช้ระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนเป็นระบบหลักตามแผนแม่บทการพัฒนาโครงข่ายระบบขนส่งมวลชนสายหลักและสายรองในกรุงเทพฯและปริมณฑล ภาครัฐได้มีการลงทุนพัฒนาก่อสร้างโครงข่ายระบบขนส่งมวลชนระยะที่หนึ่งจำนวน 10 สายทางจนใกล้จะแล้วเสร็จ ซึ่งพบว่าปัจจัยด้านการเชื่อมต่อการเดินทางมีส่วนสำคัญต่อการเลือกใช้ระบบขนส่งมวลชน เนื่องจากการใช้ระบบขนส่งมวลชนจะต้องมีการเชื่อมต่อการเดินทางในช่วงแรกจากต้นทางเพื่อไปยังสถานี หรือเดินทางช่วงสุดท้ายเพื่อเดินทางต่อจากสถานีเพื่อไปยังจุดหมายที่ต้องการ ในการศึกษานี้ได้ศึกษาปัจจัยในการเลือกรูปแบบและวิธีการเดินทางช่วงแรกเนื่องจากจะมีผลต่อการลดการใช้ยานพาหนะส่วนบุคคลมากที่สุด โดยใช้เทคนิควิธีการที่กำหนดสถานการณ์ขึ้นในการเลือกรูปแบบการเดินทาง (Stated Preference method) จากกลุ่มตัวอย่างที่ใช้วิธีการตอบแบบสอบถามออนไลน์จำนวน 477 ตัวอย่าง จากการศึกษาพบว่าผู้โดยสารระบบขนส่งมวลชนให้ความสำคัญกับเรื่องระยะเวลาในการเดินทางมากที่สุด ตามด้วย ระยะเวลารอคอยและค่าใช้จ่ายในการเดินทาง การพัฒนาระบบการเชื่อมต่อที่สามารถสนองตอบความต้องการของผู้โดยสารจะช่วยให้จำนวนผู้ใช้ระบบขนส่งมวลชนเพิ่มมากขึ้น
References
Guo Y, Yang L, Huang W, Guo Y. Traffic safety perception, attitude, and feeder mode choice of metro commute: evidence from Shenzhen. International Journal Environmental Research and Public Health [Internet]. 2020 [cited 2021 Apr 29];17(24):9402. Available from: https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC7765347/
Sivakumaran K, Li Y, Cassidy M, Madanat S. Access and the choice of transit technology. Transportation Research Part A: Policy and Practice 2014;59:204-21.
De M, Sikarwar S, Kumar V. Intelligent systems to enhance last mile connectivity for upcoming smart cities in India. Environment and Planning B Planning and Design 2017;2:16-31.
Venter CJ. Measuring the quality of the first/last mile connection to public transport. Research in Transportation Economics 2020;83:100949.
Wang H, Odoni A. Approximating the Performance of a “Last Mile” transportation system. Transportation Science 2014;50:141223041352002.
Campbell KB, Brakewood C. Sharing riders: How bikesharing impacts bus ridership in New York City. Transportation Research Part A: Policy and Practice 2017;100:264-82.
Mozayani S. Comparing different transit strategies to tackle the last-mile issue in low demand areas Case study: York Region Transit [Internet]. 2019 [cited 2023 Mar 31]. Available from: https://www.semanticscholar.org/paper/Comparing-different-transit-strategies-to-tackle-in-Mozayani/20f03f470765ce115e9735ddb5330e5956931595
Kanuri C, Venkat K, Maiti S, Mulukutla P. Leveraging innovation for last-mile connectivity to mass transit. Transportation Research Procedia 2019;41:655-69.
Nocera S, Pungillo G, Bruzzone F. How to evaluate and plan the freight-passengers first-last mile. Transport Policy [Internet]. 2021 Jan 8 [cited 2021 Apr 29];113:56-66 Available from: https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S0967070X19306584
Ajzen I. The theory of planned behavior. Organizational Behavior and Human Decision Processes 1991;50(2):179-211.
Hensher D, Rose J, Greene W. Applied Choice Analysis. Cambridge: Cambridge University Press; 2005.
Danielis R, Rotaris L. Analysing freight transport demand using stated preference data: a survey and a research project for the Friuli-Venezia Giulia Region1. Trasporti Europei 1999;13.
Šimeček M. Discrete choice analysis of travel behaviour. Transactions on Transport Sciences 2019;10(1):5-9.
Chee PNE, Susilo YO, Wong YD. Determinants of intention-to-use first-/last-mile automated bus service. Transportation Research Part A Policy and Practice 2020;139:350-75.
Meng M, Koh P, Wong Y. Influence of socio-demography and operating streetscape on last-mile mode choice. Journal of Public Transportation [Internet]. 2016;19(2):38-54. Available from: https://scholarcommons.usf.edu/jpt/vol19/iss2/3
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ลิขสิทธิ์
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวิศวกรรมสารเกษมบัณฑิต ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ห้ามนำข้อความทั้งหมดไปตีพิมพ์ซ้ำ ยกเว้นได้รับอนุญาตจากมหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตแล้ว
ความรับผิดชอบ
หากบทความที่ได้รับการตีพิมพ์นั้นเป็นบทความที่ละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้อื่นหรือมีความไม่ถูกต้องในเนื้อหาของบทความ ผู้เขียนบทความนั้นต้องเป็นผู้รับผิดชอบ