การเพิ่มประสิทธิภาพในการตัดแกนกระดาษด้วยโปรแกรมเชิงเส้นตรง กรณีศึกษา: บริษัท บาร์โค้ด ทีทีอาร์ จำกัด
Keywords:
หมึกพิมพ์ริบบ้อน,, โปรแกรมเชิงเส้นตรง,, รหัสควบคุมโปรแกรมประยุกต์อื่นๆ, ด้วยภาษาวิชวลพื้นฐาน, Thermal, Transfer, Ribbon,, linear, programming,, Code, VBAAbstract
แกนกระดาษเป็นวัสดุหลักของโครงสร้างหมึกพิมพ์บาร์โค้ด (Thermal Transfer Ribbon) ที่เป็นลักษณะวัสดุ 1 มิติ ที่มีขนาดความยาวและปริมาณการใช้สูง การนำแกนกระดาษมาใช้งานจำเป็นต้องตัดวัสดุคงคลังความยาวมาตราฐานให้ได้ขนาดความยาวตามที่ต้องการต่างๆ กัน จึงทำให้เกิดเศษเหลือจากกระบวนการตัดและมีความสูญเสียเกิดขึ้นเป็นจำนวนมาก ซึ่งส่งผลโดยตรงต่อต้นทุนในการผลิต หัวหน้าฝ่ายผลิตมีหน้าที่เตรียมรายการความต้องการเพื่อให้พนักงานตัดแกนกระดาษซึ่งแบบแผนการตัดถูกสร้างขึ้นด้วย Algorithm ง่ายๆ ที่คิดขึ้นเองไม่มีการใช้เครื่องมือช่วยคำนวณ ส่งผลให้มีปริมาณเศษเหลือจากการตัดแกนกระดาษโดยเฉลี่ยมากกว่า 4% ของปริมาณแกนกระดาษที่เบิกใช้ การวิจัยในครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการตัดแกนกระดาษด้วยโปรแกรมเชิงเส้นตรง ซึ่งประกอบด้วยสองขั้นตอนหลักคือ การสร้างแบบจำลองการตัด (Formulation Model) และการคำนวณหาเศษเหลือที่น้อยที่สุด ด้วยโปรแกรมเชิงเส้นตรงและ Code VBA (Visaul basic application) บน Microsoft Excel ผลการวิจัยนี้พบว่า การเขียน Code VBA สามารถจำลองตัวแปรอัตโนมัติได้อย่างรวดเร็วและแสดงรูปแบบในการตัดได้มากถึง 83 pattern และด้วยวิธีการโปรแกรมเชิงเส้นตรงสามารถคำนวณหาค่าเศษเหลือที่น้อยที่สุดได้โดยมีอัตราการสูญเสียเฉลี่ยเพียง 0.51% ซึ่งเศษเหลือจากการตัดแกนกระดาษลดลงถึง 87.9% ต่อเดือน
The paper is the core of material Barcode printing (Thermal Transfer Ribbon), which is a one-dimensional materials with size length and high consumption Bringing the paper to the need to cut inventory standard length to length as required different. As a result, the remainder of the cutting process and has caused a lot of losses. Which directly affect the cost of production. Production Supervisor is responsible for preparing a list of demands to cut staff, cut the paper pattern was created with a simple Algorithm think of your own. With out the use of tools to help calculate As a result,the amount of debrisleft overfrom cutting the paper by more than4% of the amount of paper used. This research aims to increase the efficiency of cut paper core with linear programming. Which consists of two main stages. Modeling the cut (Formulation Model) and the calculation of minimal residual. With linear programming and Code VBA (Visual basic application) on Microsoft Excel. This study found that writing Code VBA can simulate variable automatic, fast and show ways to cut up to 83 pattern and method of linear programming to calculate the remainder at least get a rate. The average loss was only 0.51%, the remainder of the core cut paper fell to 87.9% per month.
Downloads
Published
Issue
Section
License
*Copyright
The article has been published in Kasem Bundit Engineering Journal (KBEJ) is the copyright of the Kasem Bundit University. Do not bring all of the messages or republished except permission from the university.
* Responsibility
If the article is published as an article that infringes the copyright or has the wrong content the author of article must be responsible.