การจัดการคลังสินค้า กรณีศึกษา:บริษัทอุตสาหกรรมสเตนเลส
Keywords:
การจัดการคลังสินค้า, การส่งมอบ, ผลิตภัณฑ์สแตนเลส, Warehouse Management, Delivery, Stainless ProductsAbstract
ในบทความนี้ได้ทำ การศึกษาการจัดการคลังสินค้า บริษัท อุตสาหกรรมสเตนเลส โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อลดการเคลื่อนย้ายสินค้าและการเบิกจ่ายเพื่อการส่งมอบมีความล่าช้า ส่งผลให้การ ดำเนินงานมีประสิทธิภาพต่ำ พบว่าปัญหาส่วนใหญ่มาจากตำแหน่งของการจัดวางและการมีสินค้า ล้นออกมาบริเวณพื้นที่ที่มีการเคลื่อนย้าย ซึ่งสินค้าบางประเภทมีการจัดวางที่ไม่ได้คำนึงถึงน้ำหนัก และระยะเวลาในการนำส่ง โดยเฉพาะสินที่มีความจำเป็นในกระบวนการผลิต ซึ่งมีระยะเวลาในการ เบิกจ่ายสูง และยังมีสินค้าที่ใช้ระยะเวลาในการนำส่ง ซึ่งควรมีการจัดการคลังสินค้าตามลำดับของ การเคลื่อนย้ายที่เหมาะสม ดังนั้นในการดำเนินแก้ปัญหาจะนำหลักการจัดการคลังสินค้าเข้ามาช่วย แก้ปัญหา ด้วยการวิเคราะห์ความถี่ในการเคลื่อนย้ายน้ำหนักและระยะทางของการเบิกจ่าย และผัง คลังสินค้าเพื่อความสะดวกในการส่งมอบสินค้าและแก้ไขปัญหาอย่างเป็นรูปธรรม จากการนำข้อมูล รายการสินค้าที่จัดเก็บจำนวน 12 รายการมาวิเคราะห์ ด้วยแผนภูมิก้างปลาและใช้หลักการ วิเคราะห์ ABC ด้วยการให้ความสำคัญระยะทางกับเวลาในการส่งมอบสินค้า ผลลัพธ์ในการจัดการ พบว่า สามารถลดระยะทางในการส่งมอบลดลงจากเดิม 221.5 เมตร เหลือ 134 เมตร คิดเป็น 39.5% และระยะเวลาจากเดิม 227.31 นาที ลดลงเหลือ 63.86 นาที คิดเป็น 71.92%WAREHOUSE MANAGEMENT CASESTUDY: STAINLESS STEEL INDUSTRIES
This research studies to the warehouse management of stainless steel industry. The objective is to reduce the problem about goods moving and delay delivery, which the efficiency is low. The major problems are the position of the placement on shelves and the store in the moving area, which the some products does not take into account the weight and frequency of the delivery. The products are needed in the manufacturing process with period of high turnover and also at the time of delivery. This should be managed according to the warehouse moving right. Thus, to implement warehouse management solution will be back to help solve the problem. We analyze the frequency of moving weight and distance of the disbursement. Moreover, we also analyze the warehouse layout to facilitate the delivery of goods and fix the problem substantially. From these data items stored and analyzed 12 items by ABC analysis for a focus distance and time of delivery. The results in the management have found to reduce the distance to deliver a drop from 221.5 meters to 134 meters, approximately 39.5% and the time from 227.31 minute rate to 63.86 minute, approximately 71.92%.
Downloads
Issue
Section
License
*Copyright
The article has been published in Kasem Bundit Engineering Journal (KBEJ) is the copyright of the Kasem Bundit University. Do not bring all of the messages or republished except permission from the university.
* Responsibility
If the article is published as an article that infringes the copyright or has the wrong content the author of article must be responsible.