การศึกษาแนวทางการจัดการเพื่อลดความเสี่ยงด้านการยศาสตร์ จากการใช้คอมพิวเตอร์ของบุคลากรในสำนักงาน

Main Article Content

รัชนี จูมจี
คมสันต์ ธงชัย
ญาณิฐา แพงประโคน
จารุพร ดวงศรี
ปรีชา ทองมูล
จุฬาพร คำรัตน์

บทคัดย่อ

     จากการศึกษาผลกระทบต่อสุขภาพของพนักงานที่ทำงานกับคอมพิวเตอร์พบว่า พนักงานส่วนใหญ่มีอาการปวดตา แสบตา ระคายเคืองตา และอาการปวดบริเวณคอ บ่า ไหล่ ที่มีสาเหตุมาจากท่าทางการทำงานที่ไม่เหมาะสม จากการวิเคราะห์กลุ่มทดลองจำนวน  21 ตัวอย่าง ผลการประเมินความเสี่ยงท่าทางการทำงานของผู้ใช้คอมพิวเตอร์ในสำนักงาน พบว่า คะแนนความเสี่ยงของพนักงานเฉลี่ยเท่ากับ 6.59 (ความเสี่ยงสูง) หลังจากการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อหาแนวทางการปรับปรุงสถานีงาน พบว่า ค่าคะแนนความเสี่ยงเฉลี่ยลดลงเหลือ 4.00 (ความเสี่ยงต่ำ) คะแนน ช่วงเชื่อมั่นที่ 2.032 - 3.15 ความเชื่อมั่นที่ 0.001* ผลการประเมินความเสี่ยงท่าทางการทำงานของผู้ใช้คอมพิวเตอร์ในสำนักงาน ก่อนและหลังการปรับปรุงสถานีงานมีค่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ซึ่งแสดงให้เห็นว่าการปรับปรุงสถานีสามารถลดความเสี่ยงด้านการยศาสตร์ให้กับบุคลากรที่ทำงานกับคอมพิวเตอร์ในสำนักงานได้

Article Details

How to Cite
[1]
จูมจี ร., ธงชัย ค., แพงประโคน ญ., ดวงศรี จ., ทองมูล ป., และ คำรัตน์ จ., “การศึกษาแนวทางการจัดการเพื่อลดความเสี่ยงด้านการยศาสตร์ จากการใช้คอมพิวเตอร์ของบุคลากรในสำนักงาน”, J of Ind. Tech. UBRU, ปี 9, ฉบับที่ 2, น. 25–35, ก.ย. 2019.
บท
บทความวิจัย

References

[1] Sornboot J, Phakthongsuk P, Thangtrison S. Prevalence of visual fatigue and its determinants among computer users in the Faculty of Medicine, Prince of Songkla University. Songkla Medicine.2009; 27(2): 91-104. (in Thai)
[2] Chaiear N, Buranruk O, Pinitsoonthorn S, Boonma M, Leelathanapipat S, Sujinprum C, Durongkhadet P, Leelamanotham S, Moonthawee K. Health Effects of Computer Use Among Thai Commercial Bank Workers, Khon Kaen, Thailand. Srinagarind MedicineJournal. 2005; 20(1): 3-10. (in Thai)
[3] Krusun M, Chaiklieng S. Prevalence of Neck, Shoulder and Back Discomfort among University Office Workers Who Used Desktop Computers More Than 4 Hours per Day. In Manmart L editors. The 15th Graduate Research Conferences. Graduate School Khon Kaen University. Khon kaen : Khon kaen University; 2014. P.1712-1722. (in Thai)
[4] Ergonomics Assessment. [Internet]. 2014. [cited 2017 July 15]. Available from: https://thai-ergonomic-assessment.blogspot.com/2014/03/rapid-office-strain-assessment-rosa.html. (in Thai)
[5] Krusun M, Chaiklieng S. Ergonomic Risk Assessment in University Office Workers. KKU Science Journal. 2014; 19(5): 697-707. (in Thai)
[6] Matosa M, Arezes P. Ergonomic Evaluation of Office Workplaces with Rapid office Strain Assessment (ROSA). In Ahram T, editors. 6th International Conference on Applied Human Factors and Ergonomics (AHFE 2015) and the Affiliated Conferences, AHFE 2015. 2015 July 26–30; Las Vegas. USA. AHFE 2015 International Conference; 2015. p.4689–4694.
[7] Strasser H, Fleischer R, Keller E. Muscle Strain of the Hand-Arm-Shoulder System During Typing at Conventional and Ergonomic Keyboards. Occupational Ergonomics Journal. 2004; 4(2): 105-119.