การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีความจริงเสริมเพื่อผลิตสื่อการเรียนรู้ ความปลอดภัยของระบบสารสนเทศ

Main Article Content

ศุภเทพ สติมั่น
ปิยนุช วรบุตร
ภาณุพงศ์ บุญรมย์
กษมา ดอกดวง
ชานนท์ จังกาจิตต์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีความจริงเสริมเพื่อผลิตสื่อการเรียนรู้ความปลอดภัยของระบบสารสนเทศ 2) หาประสิทธิภาพของสื่อการเรียนรู้ความปลอดภัยของระบบสารสนเทศโดยใช้เทคโนโลยีความจริงเสริม และ 3) ศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อสื่อการเรียนรู้ความปลอดภัยของระบบสารสนเทศ
โดยใช้เทคโนโลยีความจริงเสริมประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ประกอบด้วย 1) ผู้เชี่ยวชาญในการประเมินประสิทธิภาพของสื่อการเรียนรู้ จำนวน 5 คน 2) ผู้เรียนกลุ่มทดลองเป็นนักศึกษาในสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ ธุรกิจ ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาความปลอดภัยของระบบสารสนเทศ จำนวน 40 คน โดยใช้วิธีการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามประเมินประสิทธิภาพของสื่อการเรียนรู้ และแบบประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อสื่อการเรียนรู้ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) ได้สื่อการเรียนรู้ความปลอดภัยของระบบสารสนเทศโดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีความจริงเสริม 2) สื่อการเรียนรู้ความปลอดภัยของระบบสารสนเทศโดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีความจริงเสริมที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพ อยู่ในระดับมาก และ 3) ความพึงพอใจของผู้เรียนด้วยสื่อการเรียนรู้ความปลอดภัยของระบบสารสนเทศโดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีความจริงเสริม อยู่ในระดับมาก

Article Details

How to Cite
[1]
สติมั่น ศ., วรบุตร ป., บุญรมย์ ภ., ดอกดวง ก., และ จังกาจิตต์ ช., “การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีความจริงเสริมเพื่อผลิตสื่อการเรียนรู้ ความปลอดภัยของระบบสารสนเทศ”, J of Ind. Tech. UBRU, ปี 9, ฉบับที่ 1, น. 121–132, เม.ย. 2019.
บท
บทความวิจัย

References

[1] Nipon brivetanun. Augmented Reality When the real world merges with the virtual world [Internet]. 2014 [cited 2016 October 13]. Available from : http://banbanbook.com/banbanbook/ assets/pdfjs/ web/viewer.php?myParam=5CF-HDMA2SP3Q7962_0UYQX90 (in Thai)
[2] Bajura M, Fuchs H, Ohbuchi R. Merging virtual objects with the real world: Seeing ultrasound imagery within the patient. ACM SIGGRAPH Computer Graphics. 1992 Jul 1; 26(2): 203-10.
[3] Azuma RT. A survey of augmented reality. Presence: Teleoperators & Virtual Environments. 1997 Aug; 6(4): 355-85.
[4] Silva R, Oliveira JC, Giraldi GA. Introduction to augmented reality. National laboratory for scientific computation, Av. Getulio Vargas. 2003.
[5] Lu, W., Nguyen, L.-C., Chuah, T. L., & Do, E. Y.-L. Effects of mobile AR-enabled interactions on retention and transfer for learning in art museum contexts. In 2014 IEEE International Symposium on Mixed and Augmented Reality Media, Art, Social Science, Humanities and Design (ISMAR-MASH’D); 2014 September 10-12; Munich. Germany: IEEE; 2014. p. 3-11.
[6] Sittiporn Pornudomthap. A Study of Augmented Reality Technologies: Case Study Developing Virtual Teen Jok Cloth Weaving by E-Commerce Technologies. Uttaradit: Faculty of Management Science. Rajabhat Uttaradit University; 2014. (in Thai)
[7] Hsieh, M. C. Development and evaluation of a mobile AR assisted learning system for English learning. In 2016 International Conference on Applied System Innovation (ICASI); 2016 May
28 June 1; Okinawa. Japan: IEEE; 2016. p. 1-4.
[8] Rakphon Thananuwong. Learning Media Augmented Reality world (Augmented Reality) Sinking and floating. IPST Magazine. 2014; 41(181): 28-31. (in Thai)
[9] Lauan Saiyos and Angkana Saiyos. Measurement and Learning Techniques. 2nd Edition. Bangkok: Suweeyasad; 2006. (in Thai)


[10] Porntip Pariyawatid. Effecting Augmented Reality Code of Chinese Vocabularies Lesson for Grade3 Student at Tessaban2 Wattaninarasamosorn School [Thesis Master of Education in Educational Technology and Communications]. Songkla : Prince of Songkla University; 2014. (in Thai)
[11] Punjarat Tubphea. The Developement of Augmented Reality Multimedia Package About The Structure And Functions of The Heart for Mathayomsuksa Students [Thesis Master of Education in Science Education]. PNitsanulok : Naresuan University; 2012. (in Thai)