การเลือกสถานที่ตั้งจุดรับซื้อและการจัดเส้นทางการขนส่งยางพารา

ผู้แต่ง

  • สมศักดิ์ แก้วพลอย สาขาวิชาวิศวกรรมโลจิสติกส์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
  • สุจิตรา แก้วพลอย ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
  • วัชนะชัย จูมผา สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตตะวันออก

DOI:

https://doi.org/10.14456/rmutlengj.2021.9

คำสำคัญ:

ปัญหาการเลือกสถานที่ตั้งและจัดสรรงาน, การจัดเส้นทางการขนส่ง, แบบจำลองทางคณิตศาสตร์

บทคัดย่อ

ปัญหาการเลือกสถานที่ตั้งจุดรับซื้อจัดสรรผู้ขายและการจัดเส้นทางการขนส่งยางพารา ในอดีตไม่เคยมีวิธีการแก้ปัญหาอย่างจริงจังและมีรูปแบบ ทำให้ผู้ขายยางพาราต้องแบกรับภาระด้านต้นทุนสูงในการขนส่ง บทความวิจัยนี้ได้ประยุกต์ใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์และวิธีเมตริกแบบประหยัด ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อลดต้นทุนการขนส่งยางพาราของเกษตรกรชาวสวนยาง โดยคำนึงถึงความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ ผลการแก้ปัญหาดังกล่าวพบว่าเปิดจุดรับซื้อจำนวน 10 จุด จำแนกออกเป็นความจุขนาดเล็ก 3 จุด ความจุขนาดกลาง 5 จุด และความจุแบบไม่จำกัด 2 จุด ซึ่งสามารถลดต้นทุนการขนส่งจากเดิม 354,335.22 บาท/วัน ลดลงเหลือ 203,171 บาท/วัน คิดเป็นร้อยละ 42.7 ดังนั้นการประยุกต์ใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์และวิธีเมตริกแบบประหยัดในการแก้ปัญหา จึงเป็นแนวทางหนึ่งที่น่าสนใจในการเลือกสถานที่ตั้งและการจัดเส้นทางการขนส่ง

Downloads

Download data is not yet available.

References

[1] Logistics Office. Optimization of industrial logistics in the southern region. Bangkok: Y C S Media; 2014.
[2] Rubber Research Institute. Natural rubber production of Thailand. Bangkok: Thai Rubber Association; 2015.
[3] Rapeepan P. Specialized topics in operations management. Ubon Ratchathani: Ubon Ratchathani University; 2017.
[4] Laporte G, Louveaux FV. Solving stochastic routing problem with the integer L-shaped method. Fleet Management and Logistics. 1998; 159-167.
[5] Fischetti M, Toth P, Vigo D. A branch and bound algorithm for the capacitated vehicle routing problem on directed graphs. Operation Research. 1994; 42(5): 846-859.
[6] Lysgaard J, Letchford AN, Eglese RW. A new branch and cut algorithm for the capacitated vehicle routing problem. Mathematical Programming. 2004 Jun;100(2):423-445.
[7] Lambert DM, Cooper MC,Pagh JD. Supply chain management: implementation issues and research opportunities. The International Journal of Logistics Management. 1998 Jul 1; 9(2):1-20.
[8] Clarke G, Wright JW. Scheduling of vehicles from a central depot to a number of delivery points. Operations Research. 1964 Aug;12(4): 568-581.
[9] Somsak K, Sujittra K, Sombat S. The location routing problem with para rubber by using tabu search. Conference on Industrial Engineering, 2018 July 23-26, Ubon Ratchathani; 2018. p. 348-1352.
[10] Somsak K, Sindhuchao S. Solving location Routing Problem of the Central Rubber Market by Tabu Search. KMUTNB Int J Appl Sci Technol. 2017; 10(2); 145-151.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-08

How to Cite

แก้วพลอย ส. ., แก้วพลอย ส. ., & จูมผา ว. . (2021). การเลือกสถานที่ตั้งจุดรับซื้อและการจัดเส้นทางการขนส่งยางพารา . วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา, 6(2), 29–39. https://doi.org/10.14456/rmutlengj.2021.9