การสร้างเครื่องย่อยดินเพื่อใช้ในการผลิตอิฐบล็อกประสาน

ผู้แต่ง

  • แมน ฟักทอง สาขาวิชาครุศาสตร์วิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก
  • สมชาย โพธิ์พยอม สาขาวิชาครุศาสตร์วิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก
  • ศักดิ์สิทธิ์ ชื่นชมนาคจาด สาขาวิชาครุศาสตร์วิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก
  • เกริกชัย มีหนู สาขาวิชาครุศาสตร์วิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก
  • เกรียงไกร ธารพรศรี ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่

คำสำคัญ:

ย่อยดิน, ดินลูกรัง, อิฐบล็อกประสาน

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบและสร้างเครื่องย่อยดินในการผลิตอิฐบล็อกประสาน โดยดำเนินการออกแบบเครื่องย่อยดินให้มี ความกว้าง 1,020 มิลลิเมตร ความยาว 760 มิลลิเมตร และความสูง 1,950 มิลลิเมตร ใช้มอเตอร์ขนาด 3 แรงม้าเป็นต้นกำลัง โดยปรับลิ้นชักช่องปล่อยดินได้ 2 ระดับ ผลการทดสอบสมรรถนะของเครื่องย่อยดินด้วยการหาอัตราการนำเข้าของดินลูกรังที่มีผลต่อความละเอียดของเนื้อดินลูกรังในช่องปล่อยดิน 2 ระดับ ในระยะเวลา 1 นาที อัตราการนำเข้าดินที่ดีที่สุดคือ ช่องปล่อยดิน ระดับที่ 2 ขนาด 300 ตารางเซนติเมตร ได้ปริมาณดิน 21.0 กิโลกรัม/นาที และผลการทดสอบความละเอียดของเนื้อดินลูกรังที่สามารถนำมาผลิตอิฐบล็อกประสานได้ ในอัตราส่วนดินที่ใช้ในการผลิตอิฐบล็อกประสานได้ : ดินที่ใช้ในการผลิตอิฐบล็อกประสานไม่ได้ พบว่าอยู่ในเกณฑ์ 80 : 20 กิโลกรัม แต่ช่องปล่อยดินในระดับที่ 1 ขนาด 150 ตารางเซนติเมตร ได้อัตราส่วน 85.4 : 14.6 กิโลกรัม มีความละเอียดของเนื้อดินที่สามารถนำไปใช้ในการผลิตอิฐบล็อกประสานได้มากที่สุด

Downloads

Download data is not yet available.

References

1. Prices of construction materials, Material product Bangkok [Internet]. [cited 2016 March 1]. Available from: http://www.indexpr.moc.go.th/PRICE_PRE-SENT/tablecsi_region.html

2. Ngernprom N. And Rakson S. Development of gravel cement mixed with waste ash from industrial and agricultural products as interlocking bricks [Internet]. [cited 2016 September 6]. Available from: https://repository.rmutp.ac.th/bitstream/handle/123456789/1221/ENG_55_12.pdf?sequence=1

3. The committee set up measures and documenting soil conservation And soil management. Laterite soil management [Internet]. [cited 2016 September 6]. Available from:http://www.ldd.go.th/Lddwebsite/web_ord/Technical/pdf/P_Technical10039_pdf

4. Chanthima T. design.2nd edition. Bangkok: Thai Wattana Panich; 1992. Thai

5. Suwan P. SolidWorks 2014 Complete engineering design formula. 1st edition, Bangkok: Whitty Group; 2015

6. Pracha W. Faculty Design and construction of wood chippers. Faculty of Agricultural Engineering and Technology Rajamangala University of Technology; 2549

7. American Society for Testing and Materials. Standard test method for sieve analysis of fine and coarse aggregates. C136-95a. Annual book of ASTM standard; 1996.04.02.4.p.78-82

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-12-26