ประสิทธิภาพของสาหร่าย Chlorella sp. TISTR 8432 ในการลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากระบบผลิตก๊าซชีวภาพ

ผู้แต่ง

  • ครรชิต เงินคำคง สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
  • นิธิวัฒ จำรูญรัตน์ สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
  • สิทธิศักดิ์ แก้วหนัก สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
  • กฤษณฉัตร เมืองใจ สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
  • นิตยา ตันติวา สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • นันท์นภัส มโนนันท์ สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • พิสิฐ ศรีสุริยจันทร์ สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

คำสำคัญ:

คลอเรล TISRT 8432, การลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์, ก๊าซชีวภาพ

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงประสิทธิภาพของสาหร่ายในการลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในระบบผลิตก๊าซชีวภาพที่ผ่านการกำจัดก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ โดยใช้สาหร่าย Chlorella sp. TISTR 8432 ในถังไบโอรีเเอคเตอร์ปริมาตร 5 ลิตร ด้วยอาหารสูตร JM ที่อัตราการเติมก๊าซชีวภาพที่อัตรการไหล 0.05, 0.10 และ 0.15 vvm ตามลำดับ หลังจากการเพาะเลี้ยงเป็นเวลา 16 วัน ผลการศึกษาพบว่าที่อัตราการเติมก๊าซชีวภาพที่อัตราการไหล 0.05 vvm การเจริญของสาหร่ายและประสิทธิภาพในการลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ดีกว่าที่อัตราการเติมก๊าซชีวภาพที่อัตราการไหล 0.10 และ 0.15 vvm โดยมีอัตราการเจริญเติบโตจ่าเพาะสูงสุด 0.589 ± 0.11 ต่อวัน และมวลสาหร่ายสูงสุด 2,800 ± 100.00 มก./ล. ประสิทธิภาพในการลดสัดส่วนก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในระบบผลิตก๊าซชีวภาพสูงสุดเท่ากับ 97.48 ± 0.31% สัดส่วนก๊าซชีวภาพที่ออกจากระบบมีปริมาณมีเทนสูงขึ้นเป็น 73.57 ± 0.81% และสัดส่วนเปอร์เซ็นต์การเพิ่มขึ้นของก๊าซมีเทนสูงสุดเท่ากับ 21.60 ± 1.35%

Downloads

Download data is not yet available.

References

1. Xinahai, Z., Micchael, K.D., Shiduo, Z., Xia, Z.,Mengyang, W., Xiao, D.C., I-Son, N., Keju, J. and Yinghua, L. (2012). Autotrophic cultivation of Spirulina patensis for CO2 fixation and phycocyanin production, Chemical Engineering, vol. 183, December 2011, pp. 192-197.
2. Demirbas, A. (2010). Use of algae as biofuel sources, Energy Conversion and Management,vol. 51, December 2010, pp. 2738-2749.
3. ส่านักเทคโ นโลยีความปลอดภัย กรมโรงงานอุตสาหกรรมกระทรวงอุตสาหกรรม (2553). คู่มือการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการออกแบบ การผลิต การควบคุมคุณภาพและการใช้ก๊าซชีวภาพ (biogas) ส่าหรับโรงงานอุตสาหกรรม , กรุงเทพฯ: กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม.
4. สถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงาน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (2556). เทคโนโลยีก๊าซชีวภาพ และการนาไปใช้ ประโยชน์, [ระบบออนไลน์], แหล่งที่มา http://biogas.erdi.or.th/biogasTech_sub_adv.php. เข้าดูเมื่อวันที่ 3/09/2556.
5. นุชนาถ แช่มช้อย (2557). สาหร่ายขนาดเล็ก : การเพาะเลี้ยงและการน่ามาใช้ประโยชน์, วารสาร มฉก.วิชาการ, 17(34), มก-มิย. 2557, หน้า 169-183.
6. Zhao, Q., E. Leonhardt, C. MacConnell, C. Frear and S. Chen. (2010). Purification technologies for biogas generated by anaerobic digestion,CSANR Research Report 2010.
7. Mann, G., Schlegel, M. Schumann, R. and Sakalauskas, A. (2009). Biogas-condition with Microalgae, Agronomy Research, vol. 7(1), pp.33-38.
8. Man, K.L. and Keat, T.L. 2013. Effect of carbon source towards the growth of chlorella vulgaris for CO2 bio-mitigation and biodiesel production,International Journal of Greenhouse Gas Control, vol. 14, February 2013, pp. 169-176.
9. Chan, A. (2011). Use of microalgae in wastewater treatment to remove contaminants and purify biogas. Ph.D. The University of Guelph, Canada. 136p.
10. Toledo-Cervantes, A., Morales, M., Novelo, E. and Revah, S. (2013). Carbon dioxide fixation and lipid storage by Scenedesmus obtusiusculus, Bioresource Technology, vol. 130, December 2012, pp. 652-658.
11. Vonshak, A. (1986). Microalgae: Laboratory Growth Techniques and Outdoor Biomass Production, In Coombs, J. , Hall , D.O., Long ,S.P. and Scurlock , J.M.O. (eds.). Techniques in Bioproductivity and Photosynthesis. 2nd Pergamon Press.
12. Kao, C-Y., Chiu, S-Y., Huang, T-T., Dai, L., Hsu L-K. and Lin, C-S. (2012). Ability of a mutantstrain of microalgae Chlorella sp. to capture carbon dioxide capture for biogas upgrading, Applied Energy, vol. 39, January 2012, pp. 76-183.
13. Chiu, S-Y., Kao, C-Y., Huang, T-T., Lin, C-J., Ong, SC.,Chen, C-D., Chang, J-S. and Lin, C-S. (2011).Microalgal biomass production and on site bioremediation of carbondioxide, nitrogen oxide and sulfur dioxide from flue gas using Chlorella sp. cultures,Bioresource Technology,vol. 102, July 2011, pp. 9135-9142.
14. Sumardiono, S., Yono, B., Syaichurrozi, I. and Sasongko, S.B. (2014). Utilization of biogas as carbon dioxide provider for Spirulina platensis culture, Biological Sciences, vol. 6(1), January 2014, pp. 53-59.
15. Malis-Arad, S. and McGrowan, R. E. (1982).Alkalinity-induced aggregation in Chlorella vulgaris II changes in the cell wall during the cell cycle, Plant and Cell Physiology, vol.23(1), September 1982, pp. 11-17.
16. ผกาวดี แก้วกันเนตร และพนิดา รัตนพลที (2551).ศักยภาพการผลิตไบโอดีเซลจากสาหร่ายขนาดเล็ก,วารสารศูนย์บริการวิชาการ, 16(1), มกราคม 2551,หน้า 9-13.
17. Richmond, A. (2004). Handbook of microalgal culture, biotechnology and applied phycology,USA : Blackwell Publishing.
18. Sankar, V., Daniel, D.K. and Krastanov, A.(2011). Carbon dioxide fixation by Chlorella minutissima batch cultures in a stirred tank bioreactor, Biotechnology & Biotechnological Equipment, vol. 25(3), April 2014, pp. 2468-2476.
19. Serejo, M.L., Olmos, E.P., Boncz, M., Blanco, S.,Garcia-Encina, P.A. and Munoz, R. (2015).Influence of biogas flow rate on biomass composition during the optimization of biogas upgrading in microalgal-bacterial process, Environmental Science & Technology, vol.49(5), February 2015, pp. 3228-3244.
20. Tongprawhan, W., Srinuanpan, S. and Cheirsilp,B. (2014). Biocapture of CO2 from biogas by Oleaginous microalgae for improving methane content and simultaneously producing lipid,Bioresource Technology, vol. 170, August 2014 pp. 90-99.
21. Kao, C-Y., Chiu, S-Y., Huang, T-T., Dai, L., Wang, GH.,Tseng, C-P., Chen, C-H. and Lin, C-S. (2012). A mutant strain of microalgae Chlorella sp. for the carbon dioxide capture from biogas, Biomass and Bioenergy, vol. 36, November 2011, pp.132-140.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2016-04-01