ศักยภาพการผลิตก๊าซมีเทนของหญ้าเนเปียร์พันธุ์แคระภายใต้การปรับสภาพเบื้องต้นด้วยสารละลายด่าง

ผู้แต่ง

  • นิลวรรณ ไชยทนุ สาขาวิชาวิศวกรรมเกษตรและชีวภาพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
  • ร่มไทร มุกเมืองทอง สาขาวิชาเทคโนโลยีเครื่องกล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
  • วรุฒ ชมเจริญ สาขาวิชาเทคโนโลยีเครื่องกล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
  • อนุพันธ์ วรรณภิระ สาขาวิชาเทคโนโลยีเครื่องกล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

คำสำคัญ:

ก๊าซมีเทน, การผลิตก๊าซชีวภาพ, ศักยภาพการย่อยสลาย, หญ้าเนเปียร์แคระ

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มุ้งเน้นศึกษาศักยภาพการผลิตก๊าซมีเทนของหญ้าเนเปียร์พันธุ์แคระ ทั้งหญ้าสดและหญ้าที่ผ่านการปรับสภาพเบื้องต้นด้วยสารละลายด่าง เพื่อให้เห็นถึงศักยภาพในการใช้เป็นพืชพลังงานทางเลือกในอนาคต โดยการปรับสภาพเบื้องต้นใช้สารละลายด่าง 2 ชนิด
คือ สารละลายโซดาไฟและน้่าปูนขาวความเข้มข้น 1 %w/v ด้วยเวลา 1 และ 2 ชั่วโมง ทุกการทดลองกระทำที่อุณหภูมิห้องและความดันบรรยากาศ พบว่า หญ้าเนเปียร์พันธุ์แคระที่ไม่ผ่านการปรับสภาพด้วยสารเคมีมีศักยภาพการผลิตก๊าซมีเทนอยู่ที่ 0.181 และ 0.273 m3/kgVSadd ตามลำดับ เมื่อผ่านการปรับสภาพด้วยการแช่สารละลายโซดาไฟเข้มข้น 1%w/v นาน 1 ชั่วโมง คิดเป็นประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นถึง 30% ส่าหรับการปรับสภาพด้วยน้ำปูนขาวให้ผลใกล้เคียงกับการทดลองหญ้าสด

Downloads

Download data is not yet available.

References

1. ปริพัฒน์ จึงชัยชนะ และ สุภวัฒน์ วิวรรธ์ภัทรกิจ (2555). ประเมินศักยภาพการผลิตไฟฟ้าด้วย Biogas จากขยะ กรณีศึกษาตลาดไท, วารสารวิจัยพลังงาน,ฉบับที่ 2555/1, หน้า 73 – 83.
2. น่้าเพชร พันธุ์พิพัฒน์ และ สุภวัฒน์ วิวรรธ์ภัทรกิจ(2555). ศึกษาศักยภาพการผลิตไฟฟ้าด้วยไบโอแก๊สที่ผลิตจากเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร, การประชุมวิชาการสมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทยครั้งที่ 13, จังหวัดเชียงใหม่
3. Nanakorn W. and Norsangsri, M. (2001).Species enumeration of Thai Gramineae, Queen Sirikit Botanic Garden, Chiang Mai,Thailand.
4. กลุ่มสารสนเทศและข้อมูลสถิติ กรมปศุสัตว์ (2552).สรุปผลการผลิตและการใช้หญ้าแห้ง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2548-2552, [ระบบออนไลน์], แหล่งที่มา http://www.<dld.go.th/nutrition/data_stat/data_stat.htm> เข้าดูเมื่อวันที่ 21/01/2556.
5. Beatrice, M. S., Jerry, D.M. and Catherine, M.O.(2009). What is the energy balance of grass biomethane in Ireland and other temperate northern European climates, Renewable and Sustainable Energy Reviews, vol. 13, pp. 2349-2360.
6. Zheng, Y., Zhao, J., Xu, F. and Li, Y. (2014).Pretreatment of lignocellulosic biomass for enhanced biogas production; review, Progress in Energy and Combustion Science, vol. 42,pp. 35-53.
7. สถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงานนครพิงค์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (2554). BMP. เอกสารการวิเคราะห์หาค่า BMP.
8. Rekha, B. N. and Aniruddha, B. P. (2013). Performance enhancement of batch anaerobic digestion of napier grass by alkali pre-treatment, International Journal of ChemTech Research, vol. 5, pp. 558-564.
9. Emiliano, B., Anders, P. J. and Irini, A. (2010). Comparative study of mechanical, hydrothermal,chemical and enzymatic treatments of digested biofibers to improve biogas production, Bioresource Technology, vol. 22,pp. 8713-8717.
10. Janejadkarn, A. and Chavalrit, O. (2014). Biogas production from Napier grass (Pakchong1) (Pennisetum purureum × Pennisetum americanum), Advanced Materials Research,Vol. 856, pp. 327-332.
11. ณัฐกาญจน์ ชราพก (2555). การผลิตก๊าซชีวภาพจากหญ้าในระบบหมักไร้อากาศแบบขั้นตอนเดียว ,วิทยานิพนธ์วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2016-04-01