อิทธิพลของความดันและอุณหภูมิต่อเปอร์เซ็นต์ความสามารถในการสกัดเย็นน้ำมันงา

ผู้แต่ง

  • ธนพล เจริญศรี ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • นพพล อมรพิศาล ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • นฤดล อนุชิต ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • ปฐมศก วิไลพล ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

DOI:

https://doi.org/10.14456/rmutlengj.2017.4

คำสำคัญ:

งาดำ, น้ำมันงา, สกัดเย็น

บทคัดย่อ

น้ำมันงาสกัดเย็นเป็นการแปรรูปงาโดยคงคุณค่าต่างๆ ไม่ให้เกิดการสูญเสียเนื่องจากความร้อนระหว่างกระบวนการผลิต งานวิจัยหลายชิ้นได้ใช้เครื่องสกัดน้ำมันชนิดเกลียวอัด ตลอดจนมีการศึกษาการอัดเพื่อสกัดน้ำมันด้วยความดันต่ำกว่า 20 MPa ในการวิจัยนี้เป็นการศึกษาอิทธิพลของความดัน (20-60 MPa) และอุณหภูมิ (40-60oC) ในกระบวนการผลิตต่อเปอร์เซ็นต์ความสามารถในการสกัดน้ำมันด้วยวิธีเชิงกลด้วยกระบอกอัด เมื่อเปรียบเทียบกับปริมาณน้ำมันในเมล็ดงา โดยใช้ระยะเวลาในการกดอัดเท่ากับ 10 นาทีต่อตัวอย่าง พบว่ามีค่าสูงสุด สำหรับการกดอัดที่ความดัน 60 MPa และอุณหภูมิ 40oC จากนั้นได้ทำการวิเคราะห์พหุถดถอยเพื่อสร้างสมการความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรพบว่าความดัน อุณหภูมิ และอิทธิพลร่วมระหว่างสองตัวแปร มีอิทธิพลต่อเปอร์เซ็นต์การสกัดน้ำมันงาอย่างมีนัยสำคัญ

Downloads

Download data is not yet available.

References

1. Nandi, I. and Ghosh, M. (2015). Studies on functional and antioxidant property of dietary fibre extracted from defatted sesame husk, rice bran and flaxseed. Bioact Carbohydr Dietary Fibre, vol.5, pp. 129-136.
2. Rabrenovic, BB., Dimic, EB., Novakovic, MM., Tesevic, VV., and Basic, ZN. (2014). The most important bioactive components of cold pressed oil from different pumpkin (Cucurbitapeop L) seed. LWT Food Sci Technol, vol.55, pp. 521-527.
3. Rombaut, N., Savoire, R., Thomasset, B., Castello, J., Hecke, EV., and Lanoiselle, JL. (2015). Optimization of oil yield and oil total phenolic content during grape seed cold screw pressing. Ind Crops Prod, Vol.63, pp. 26-33.
4. Chotivisarut, N., Kumwan, R., and Geesai, S. (2006). Sesame oil cold extraction machine. Rajamangala Univ Tech Lanna. Research Report, Thailand
5. Techarungpaisan, P. and Pongrat, A. (2006). Sesame oil separator. KKU Eng J, vol.33(5), pp. 565-576. Thai.
6. Ajibola, O., Owolarafe, K., Fasinaand, O., and Adeeko, A. (1992). Expression of oil from sesame seeds. Can Agr Eng, vol. 35(1), pp. 83-88.
7. Santoso, H. and Iryanto, M. (2014). Effects of temperature, pressure, preheating time and pressing time on rubber seed oil extraction using hydraulic press. Procedia Chem, vol.9, pp.248-256.
8. Willems, P., Kuipers, NJM. and Haan, AB. (2008) Hydraulic pressing of oilseeds: experiment determination and modeling of yield and pressing rates. J Food Eng, vol.89, pp. 8-16.
9. Subroto, E., Manurung, R., Heeres, J., and Broekhuis, A. (2015). Optimization of mechanical oil extraction from Jatropha curcas L kernel using response surface method. Ind Crops Prod, vol.63, pp.294-302.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2017-03-01

How to Cite

เจริญศรี ธ., อมรพิศาล น., อนุชิต น., & วิไลพล ป. (2017). อิทธิพลของความดันและอุณหภูมิต่อเปอร์เซ็นต์ความสามารถในการสกัดเย็นน้ำมันงา. วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา, 2(1), 33–36. https://doi.org/10.14456/rmutlengj.2017.4