การพัฒนาเครื่องกลั่นน้ำมันหอมระเหยสมุนไพรโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์ ร่วมกับพลังงานไฟฟ้าที่มีระบบควบคุมไฟฟ้าอัตโนมัติ

ผู้แต่ง

  • บดินทร์ ใจจันทร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย
  • บดินทร์ ใจจันทร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย
  • เอกพันธ์ จำปา สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย
  • เพลิน จันทร์สุยะ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย
  • จิรพัฒนพงษ์ เสนาบุตร สาขาเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย

DOI:

https://doi.org/10.14456/rmutlengj.2017.2

คำสำคัญ:

ตัวเก็บรังสีแสงอาทิตย์, ระบบไฟฟ้าควบคุมแบบอัตโนมัติ, การสกัดน้ำมันหอมระเหย

บทคัดย่อ

บทความนี้เป็นพัฒนาเครื่องกลั่นน้ำมันหอมระเหยใช้หลักการกลั่นด้วยไอน้ำ เครื่องกลั่นน้ำมันหอมระเหยที่พัฒนาขึ้นทำมาจากวัสดุ สแตนเลสเบอร์ 316 หนา 2 มิลลิเมตร มีส่วนประกอบ คือ หม้อกลั่น หม้อควบแน่น โดยระบบไฟฟ้าควบคุมอุณหภูมิในตัวเก็บรังสีแสงอาทิตย์ขนาด 70 ลิตร แล้วส่งน้ำที่มีอุณหภูมิ 60-80 องศาเซลเซียส ไปยังหม้อกลั่นเพื่อสั่งให้ฮีตเตอร์ทำงานจนน้ำอุณหภูมิถึง 70-93 องศาเซลเซียส แล้วนำไอน้ำที่ได้ไปควบแน่นในหม้อควบแน่นที่อุณหภูมิ 20-25 องศาเซลเซียส ตามลำดับ ใช้ปริมาณสมุนไพรจำนวน 5 กิโลกรัม ใช้ไพลเป็นสมุนไพรในการสกัด โดยใช้พลังงานไฟฟ้าทั้งหมด 2510 วัตต์ และระยะเวลาในการกลั่น 6 ชั่วโมง ได้น้ำมันหอมระเหยจำนวน 8 มิลลิลิตร

Downloads

Download data is not yet available.

References

1. Prats. SM, and Jimenez, A. (2003). Essential oil: analysis by Gc. Edited by Cazes, J.InEncyclopedia of chromatography. 2nd ed., CRC Press.
2. McGuinness, H. (2003). Aromatherapy therpy basic. 2nd ed., Hodder & Stoughton, London
3. กนกวรรณ ปรีชารัตน์, เกตุวดี ใจปัญญา, การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากต้นตะไคร้หอม, ปริญญานิพนธ์ครุศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาเคมี, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราช-ภัฏนครศรีธรรมราช, 2547.
4. ธีรศิลป์ ชมแก้ว, การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากขิงด้วยวิธีการต้มกลั่นและกลั่นด้วยไอน้ำ, ปริญญาวิทยาศาสตร-มหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวเคมี, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, 2551.
5. ธนาภรณ์ มารมย์, วพรทิพย์ แผ่นทอง, การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่า, ปริญญานิพนธ์วิศวกรรมศาสตร-บัณฑิต สาขาวิศวกรรมเคมี, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรังสิต, 2553.
6. สราวุฒิ สมนาม, เครื่องกลั่นน้ำมันหอมระเหยต้นแบบประยุกต์จากเครื่องกลั่นสุราพื้นบ้าน, ปริญญาวิทยา-ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเคมี, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่, 2555.
7. ASHRAE STANDARD 93-77, Method of Testing to Determine the Thermal Performance of Solar Collectors, 1981
8. Ranjitha. J, and Vijiyalakshmi. S.(2014). Facile methods For the exteraction of essential oil for the plant species, VIT University in India
9. Xiong, F.(2015). Wireless temperature sensor network based on DS18B20, CC2420, MCU AT89S52, Dept. of Inf. Eng, Sichuan Tianyi University, Chengdu, China
10. Song, X.L. (2009). Solenoid Valve Switching Characteristic Test System Design, Coll. of Electr. Eng. & Inf. Sci., Hebei Univ. ofSci. & Technol., Shijiazhuang, China
11. Verma, N. (2015). Implementation of Solid State Relays for Power System Protection, International Journal of scientific and technology, vol.4.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-04-17

How to Cite

ใจจันทร์ บ., ใจจันทร์ บ., จำปา เ., จันทร์สุยะ เ., & เสนาบุตร จ. (2019). การพัฒนาเครื่องกลั่นน้ำมันหอมระเหยสมุนไพรโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์ ร่วมกับพลังงานไฟฟ้าที่มีระบบควบคุมไฟฟ้าอัตโนมัติ. วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา, 2(1), 16–24. https://doi.org/10.14456/rmutlengj.2017.2