การติดตามการสั่นของวัตถุในวิดีโอเงียบเพื่อสกัดเสียง
DOI:
https://doi.org/10.14456/rmutlengj.2017.13คำสำคัญ:
การสกัดเสียง, การขยายสัญญาณ, การสั่นสะเทือนของวัตถุ, วิดีโอเงียบ, การติดตามวัตถุบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้ได้นำเสนอกระบวนการในการสังเคราะห์เสียงจากภาพเคลื่อนไหวที่มีการสั่นของวัตถุในภาพ โดยจะนำภาพจากกล้องที่มีความละเอียดเหมาะสมมาประมวลผลเพี่อหาวัตถุในภาพที่มีการเคลื่อนไหว จากนั้นทำการขยายสัญญาณเพื่อให้เห็นการเปลี่ยนแปลงของตำแหน่งได้ชัดเจนขึ้น แล้วจึงนำตำแหน่งที่เปลี่ยนไปของวัตถุในแต่ละเฟรมมาแปลงให้ออกมาเป็นเสียง จากการทดสอบเบื้องต้นพบว่า การสั่นสะเทือนของวัตถุในภาพสามารถนำมาแปลงเป็นเสียงที่มีความถี่ใกล้เคียงกับความถี่ของเสียงต้นฉบับ ดังนั้นการสกัดเสียงจากการสั่นของวัตถุ จึงช่วยทำให้สามารถได้ยินเสียง ซึ่งสามารถนำไปใช้ช่วยในการสืบสวนสอบสวนต่อไปได้
Downloads
References
2. Moses J.M. and Trout K.P., A Simple Laser Microphone for Classroom Demonstration, The Physics Teacher, Vol. 44, December 2006.
3. The visual microphone: Passive recovery of sound from video, Washington Post, 2014. [Online]. Available: https://www.washington post.com/video/c/embed/098665de-1c0c-11e4 -9b6c-12e30cbe86a3. [Accessed 8th August 2016].
4. Ait-aider O., Bartoli A., and Andreff N., Kinematics from lines in a Single rolling shutter image. In Computer Vision and Pattern Recognition, 2007. CVPR’07. IEEE Conference on, IEEE, 1–6.
5. Meingast M., Geyer C., and Sastry S., Geometric models of rolling-shutter cameras. arXiv preprint cs/0503076. NAKAMURA, J. 2005. Image sensors and signal processing for digital still cameras. CRC Press.
6. Wadhwa N., Rubinstein M., Durand F., and Freeman W.T., Phase-based video motion processing, ACM Transactions on Graphics (TOG), Vol. 32, No. 4, 2013.