การพัฒนาและปรับปรุงแบบจำลองลักษณะความสว่างของระบบไฟถนนไดโอดเปล่งแสง กรณีศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย

ผู้แต่ง

  • พงศกร พ้นภัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาเชียงราย
  • พงษ์ชัย สืบสาร สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาเชียงราย
  • วิฑูรย์ พรมมี สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาเชียงราย

DOI:

https://doi.org/10.14456/rmutlengj.2017.10

คำสำคัญ:

DIALux, ไดโอดเปล่งแสง, ความส่องสว่าง, ความสว่าง, มาตรฐานกรมทางหลวง

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้เป็นการสร้างแบบจำลองความสว่างเสมือนจริงของไฟถนนโดยพิจารณาการเปรียบเทียบความสว่าง และความส่องสว่างของหลอดไดโอดเปล่งแสง แบบเลนส์ขนาดใหญ่ และหลอดไดโอดเปล่งแสงแบบเลนส์ขนาดเล็ก กรณีศึกษาพื้นที่ถนนภายในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาเชียงราย อดีตติดตั้งไฟถนนหลอดโซเดียมความดันไอสูง (HID) ขนาด 125 วัตต์ และปัจจุบันเปลี่ยนเป็นไฟถนนหลอดไดโอดเปล่งแสงแบบเลนส์ขนาดใหญ่ขนาด 70 วัตต์ โดยทำการวัดค่าความส่องสว่างจากหลอดไดโอดเปล่งแสงแบบเลนส์ขนาดใหญ่ และจำลองความส่องสว่างของหลอดไดโอดเปล่งแสงแบบเลนส์ขนาดเล็ก 70 วัตต์ โดยโปแกรม DIAlux เพื่อนำมาใช้ในการประเมินความสว่างและความส่องสว่างของไฟถนนภายในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาเชียงราย การจำลองความสว่างของถนน 4 บริเวณ ได้แก่ถนนทางตรงแบบมีเกาะกลางโคมไฟกิ่งคู่ ถนนทางโค้งแบบไม่มีเกาะกลางโคมไฟกิ่งเดียว ถนนบริเวณทาง 3 แยก และถนนบริเวณทาง 4 แยก จากผลการทดลอง ไฟถนนไดโอดเปล่งแสงแบบเลนส์ขนาดเล็ก 70 วัตต์ มีค่าความสว่าง ความส่องสว่าง และความสม่ำเสมอของไฟถนนดีกว่าไดโอดเปล่งแสงแบบเลนส์ขนาดใหญ่ 70 วัตต์

Downloads

Download data is not yet available.

References

1. J. Halapee. Implementation on LED Road Lighting in Bangkok. GMSARN international Journal 2013; 8: 53-60.
2. จรัญ บุญยะคงรัตน์. โครงการเปลี่ยนโคมไฟถนนเดิมเป็นโคม LED ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค [อินเตอร์เน็ต]. 2556 [เข้าถึงเมื่อ 28 มี.ค. 2559]. เข้าถึงได้จาก: http://www.tieathai.org/news/2014/job%202%20LED.pdf
3. ศ.ดร.ประโมทย์ อุณห์ไวทยะ. สรุปการสัมมนาและอภิปรายเชิงวิชาการเรื่องโคมไฟถนน LED [อินเตอร์เน็ต]. 2556 [เข้าถึงเมื่อ 28 มี.ค.2559]. เข้าถึงได้จาก: http://www.tieathai.org/news/2014/job%202%20LED.pdf
4. นิตยสาร TEMCA Magazine, สมาคมช่างเหมาไฟฟ้าและเครื่องกลไทย, ฉบับที่ 21 [อินเตอร์เน็ต]. 2557 [เข้าถึงเมื่อ 28 มี.ค.2559]. เข้าถึงได้จาก: http://www.temcathai.com /activities/magazine-21-1
5. นายกิตติ เป้าอันพงษ์กูลและผศ.ดร.จรรยาพร จุลตามระ. การประเมินคุณภาพระบบแสงสว่างภายนอกอาคารแบบปรับตามการใช้งาน [อินเตอร์เน็ต]. 2557 [เข้าถึงเมื่อ 28 มี.ค.2559]. เข้าถึงได้จาก:http://www.arch.kmutt.ac.th/files/research/nation_Conference/1.TheSubjectiveEvaluations.pdf
6. กรมทางหลวงชนบท. คู่มือแนะนำการออกแบบงานไฟฟ้าแสงสว่างและไฟสัญญาณ [อินเตอร์เน็ต]. 2557 [เข้าถึงเมื่อ 5 ธ.ค.2558].เข้าถึงได้จาก: http://trafficsafety.drr.go.th/upload/ download/8__Front_16.pdf
7. สภาวิศวกร. มาตรฐานการปฏิบัติวิชาชีพเรื่องแนวทางการปฏิบัติด้านประสิทธิผลทางพลังงานของโคมไฟถนน [อินเตอร์เน็ต]. 2557 [เข้าถึงเมื่อ 5 ธ.ค.2558]. เข้าถึงได้จาก: http://www.xn--42c6b3a0i.com/ attachments/view/?attach_id=82871
8. การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค. อัตราค่าไฟฟ้า [อินเตอร์เน็ต]. 2555 [เข้าถึงเมื่อ 5 ธ.ค.2558]. เข้าถึงได้จาก http://www.pea.co.th
9. รูปหลอด LED (LG) [อินเตอร์เน็ต]. 2555 [เข้าถึงเมื่อ 11 ธ.ค.2558]. เข้าถึงได้จาก: http://www.lg.com/th
10. รูปหลอด LED (LEKISE) [อินเตอร์เน็ต]. 2555 [เข้าถึงเมื่อ 11 ธ.ค.2558]. เข้าถึงได้จาก: http://www.lekise.com

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2017-12-01

How to Cite

พ้นภัย พ., สืบสาร พ., & พรมมี ว. (2017). การพัฒนาและปรับปรุงแบบจำลองลักษณะความสว่างของระบบไฟถนนไดโอดเปล่งแสง กรณีศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย. วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา, 2(2), 25–35. https://doi.org/10.14456/rmutlengj.2017.10