การแยกแร่เหล็กออกจากเถ้าลอยและเถ้าก้นเตาโดยใช้แม่เหล็กนีโอไดเมียม
DOI:
https://doi.org/10.14456/rmutlengj.2018.7คำสำคัญ:
เถ้าถ่านหิน, เถ้าลอย, เถ้าก้นเตา, แร่เหล็ก, แม่เหล็กบทคัดย่อ
เถ้าถ่านหินจากโรงไฟฟ้าแม่เมาะจากการวิเคราะห์โดย XRF พบว่ามี %Fe ประมาณ 10% การแยกมลทินเหล็กออกโดยใช้แม่เหล็ก-ถาวรชนิดนีโอไดเมียมในกระบวนการแบบเปียก พบว่า ลดมลทินเหล็กในตัวอย่างเถ้าลอยและเถ้าก้นเตาลงเหลือ 6.02% Fe ที่ความเข้มสนามแม่เหล็ก 3573 เกาส์ และ 5.23% Fe ที่ความเข้มสนามแม่เหล็ก 3705 เกาส์ ตามลำดับ และเปอร์เซ็นต์การเก็บกู้เหล็กจากตัวอย่างพบว่า เก็บได้ 90% และ 79% ในตัวอย่างเถ้าลอยและเถ้าก้นเตา ตามลำดับ
Downloads
References
[2]Wang S, Wu H. Environmental-benign utilisation of fly ash as low-cost adsorbents. Journal ofhazardous materials. 2006 Aug 25;136(3):482-501.
[3]การไฟฟ้าผลิตแห่งประเทศไทย. การนำเถ้าลอยลิกไนต์ไปใช้ประโยชน์. [Online]. Available from: https://maemoh.egat.com/index.php/89-sarat /89-sarat1 [Accessed 27 July 2017].
[4]Elementalmatterinfo. Elementalmatterinfo. [Online]. Availablefrom:https://www.elementalmatter. info/iron-properties.htm [Accessed 27 July 2017].
[5]บริษัท ทอรัส พอซโซลานซ์. เถ้าลอย / ผลิตภัณฑ์มวลผสม. [Online]. Available from: https://www. tauruspozzolan.com/product-flyash.php [Accessed 27 July 2017].
[6]บทความสมาคมนิวเคลียร์แห่งประเทศไทย. การวิเคราะห์โดยวิธีเอกซเรย์ฟลูออเรสเซนต์. [Online].Availablefrom: https://www.nst.or.th/article/article494/article49418.htm [Accessed 27 July 2017].
[7]ศิวโรฒม์ ศิริลักษณ์. แม่เหล็กนีโอไดเมียมกับวิศวกรรมการแต่งแร่. เชียงใหม่ : สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ; 2554.
[8]R. Bhima Rao, P. Chattopadhyay and G.N. Banerjee. Removal of iron from fly ash for ceramic and refractory applications.:Council of Scientific and Industrial Research. Bhubaneswar:India; 1999.
[9]นิคม โชติกานท์. แต่งแร่ MINERAL PROCESSING. เชียงใหม่ ภาควิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2540.