ผลของการเสริมยีสต์ (Saccharomyces cerevisae) ต่อการเพิ่มคุณค่าทางโภชนะ ของผลพลอยได้และวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร

Main Article Content

สิริวดี พรหมน้อย
เจษฎา มิ่งฉาย
สุรพิชญ์ มาน้อย
ณัฐพล คงเลิศ
พลากร อภัยกาวี

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของยีสต์ (Saccharomyces cerevisiae) ต่อคุณค่าทางโปรตีนของผลพลอยได้และวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรประกอบด้วยเปลือกทุเรียน สับปะรด และฟักทอง เพื่อใช้เป็นอาหารสำหรับโคเนื้อ โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) ใช้เวลาในการหมัก 0, 7, และ 14 วัน จากนั้นนำไปวิเคราะห์คุณค่าทางโภชนะเปอร์เซ็นต์โปรตีนหยาบ ผลการทดลองพบว่า กลุ่มทดลองที่มีหมักด้วยยีสต์มีเปอร์เซ็นต์โปรตีนหยาบสูงกว่ากลุ่มทดลองที่ไม่ใช้ยีสต์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) และที่ระยะเวลาการหมัก 14 วัน พบว่า เปลือกทุเรียนหมักยีสต์ให้ค่าโปรตีนหยาบเท่ากับ 23.82±0.39 เปอร์เซ็นต์ สับปะรดหมักยีสต์มีเปอร์เซ็นต์โปรตีนหยาบเท่ากับ 29.54±0.51 และฟักทองหมักยีสต์ให้ค่าโปรตีนหยาบเท่ากับ 22.65±0.35 เปอร์เซ็นต์  แสดงให้เห็นว่า การนำผลพลอยได้และวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรทั้งเปลือกทุเรียน สับปะรด และฟักทองหมักด้วยยีสต์สามารถใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงคุณภาพวัตถุดิบเหล่านี้ให้ดีขึ้นเพื่อนำไปใช้ในการเลี้ยงโคเนื้อ และยังสามารถช่วยลดต้นทุนค่าอาหารสัตว์ได้อีกทางหนึ่ง

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biography

สิริวดี พรหมน้อย, คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์

ข้อมูลทั่วไป                                                                                                  

ชื่อ-สกุล (ไทย)                        ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สิริวดี พรหมน้อย              

ชื่อ-สกุล (ภาษาอังกฤษ)             Asst. Prof.  Siriwadee Phromnoi, Ph.D.

ตำแหน่งทางวิชาการ                 ผู้ช่วยศาสตราจารย์

หน่วยงาน                             คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์

โทรศัพท์                               081-7510399

E-mail :                               siriwadeephromnoi@gmail.com

 

การศึกษา

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

 

ประสบการณ์ทำงาน

พ.ศ. 2562 – ปัจจุบัน     ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์

พศ. 2553 - 2561         อาจารย์ หลักสูตรสาขาวิชา ชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

 

การฝึกอบรม

พ.ศ. 2562 เกียรติบัตรอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการงานวิจัยสู่เป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ รุ่น 1 สถาบันคลังสมองของชาติ

พ.ศ. 2562  วุฒิบัตรหลักสูตร ฝึกปฏิบัติ OKRs เครื่องมือใหม่การวัดวัตถุประสงค์และกลยุทธ์แบบ 10x. ศูนย์พัฒนาทุนมนุษย์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต.

พ.ศ. 2562 วุฒิบัตรฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เข้าถึง เข้าใจเทคนิคการจัดทำแผนยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาและขับเคลื่อนองค์กร. ศูนย์พัฒนาทุนมนุษย์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต.

พ.ศ. 2562 เกียรติบัตรอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การจัดการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทำงาน (Work-Integrated Learning : WIL). มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์

พ.ศ. 2562 ประกาศนียบัตร อบรมเชิงปฏิบัติการ Design Thinking and Transmedia Workshop. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์.

พ.ศ. 2561 วุฒิบัตรการอบรมเชิงปฏิบัติการ มาตรฐานการปกป้องอาสาสมัครในงานวิจัย (Human Subject Protection – Standard Course). มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์

พ.ศ. 2561 Certificate Innovative Business Management Program. Lower Norther Science Park. Naresuan University.

พ.ศ. 2560 หลักสูตรงานวิชาการเพื่อสังคม หัวข้อ From SeS Framework to Research Proposals. สถาบันคลังสมอง. ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์.

พ.ศ. 2558 ฝึกอบรม สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ (ลูกไก่) รุ่นที่ 2 สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.

พ.ศ. 2558 อบรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ พืชเทคโนโลยีชีวภาพ การวิจัยและใช้ประโยชน์ คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร

พ.ศ. 2558 อบรมเชิงปฏิบัติการ เทคนิคการเก็บรักษาน้ำเชื้อแบบแช่เย็น แช่แข็ง และการผสมเทียมไก่ รุ่นที่ 5 คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

พ.ศ. 2557 วุฒิบัตรการพัฒนารายงานผลการดำเนินงานของรายวิชาและหลักสูตร และการ Publication จากงานวิจัย. ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์

พ.ศ. 2556 เกียรติบัตรการฝึกอบรมหลักการบริหารระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์.

พ.ศ. 2556 อบรม Phylogenetic tree รุ่นที่ 3 สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน)

 

ความเชี่ยวชาญ

การวิจัยทางด้านเทคโนโลยีชีวภาพทางด้านสัตว์

การวิจัยและพัฒนาเชิงพื้นที่

 

ผลงานตีพิมพ์เผยแพร่

สิริวดี พรหมน้อย วาสนา พันธุ์ทอง สร้อยรัตน์ดา สามโพธิ์ศรี สืบ อินสืบ. 2563. ขะโหยด : นวัตกรรมการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านบุ่งวังงิ้ว ตำบลป่าเซ่า อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์. วารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่. ปีที่ 12 ฉบับที่ 1. มกราคม-กุมภาพันธ์ 2563. หน้า 41-58.

สิริวดี พรหมน้อย. 2562. กระบวนการมีส่วนร่วมในการรักษาฐานทรัพยากรชีวภาพ กรณีศึกษา ไก่เขียวพาลี จังหวัดอุตรดิตถ์. การประชุมวิชาการระดับชาติ  T h e 6 t h  E n g a g e me n t         T h a i l a n d  A n n u a l  C o n f e r e n c e 2 0 1 9 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์. 3-5 กรกฎาคม 2562. หน้า 544-549.

Siriwadee P., C. Piantham, and K. Siripattarapravat. 2019. Genetic Diversity of Khiew-Palee Chicken in Uttaradit Province from the Mitochondrial D-loop gene. The 2th International Conference on Native Chicken 2019 Suranaree University, Nakhon Ratchasima, Thailand. July 9-12, 2019. P. 73-77.

พัทธเมธา คงเจริญ เกียรติศักดิ์ โพธิ์นาค สราวุติ สิทธิกุล สิริวดี พรหมน้อย และพิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2561. ชนิดของแมลงที่พบในแปลงมันสำปะหลังในเขตพื้นที่อำเภอทองแสนขัน จังหวัดอุตรดิตถ์. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. ฉบับที่ 3(1) มกราคม – กรกฎาคม 2561). หน้า 31-40.

พัทธเมธา คงเจริญ เกียรติศักดิ์ โพธิ์นาค สราวุฒิสิทธิกุล สิริวดี พรหมน้อย และพิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2560. การสำรวจแมลงมันสำปะหลังในเขตพื้นที่อำเภอทองแสนขัน จังหวัดอุตรดิตถ์. การประชุมนำเสนอผลงานวิจัยบัณฑิตศึกษาระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ครั้งที่ 11 ประจำปีการศึกษา 2560. หน้า 1735-1743.

สิริวดี  พรหมน้อย. 2560. การปรับปรุงคุณภาพกากมันสำปะหลังด้วยยีสต์เพื่อใช้เป็นวัตถุดิบอาหารสัตว์เคี้ยวเอื้องในพื้นที่จังหวัดอุตรดิตถ์. วารสารวิชาการวิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์ประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์. ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2560). หน้า 97-107.

สิริวดี พรหมน้อย และสกุณา พัฒนกุลอนันต์. 2560. ความหลากหลายทางพันธุกรรมของไก่พื้นเมืองในพื้นที่จังหวัดอุตรดิตถ์เพื่อการใช้ประโยชน์และอนุรักษ์อย่างยั่งยืน. วารสารสัตวแพทย์มหานครสาร. ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 พ.ศ.2560. หน้า 66-76.

พรทิพย์ มีวังแดง และสิริวดี พรหมน้อย. 2559. ความหลากหลายของยีน HSP70 ของไก่พื้นเมืองในพื้นที่จังหวัดอุตรดิตถ์. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม-ธันวาคม 2559 หน้า 64-68.

สิริวดี  พรหมน้อย และสมเกียรติ ดอนทองแดง. 2559. ความหลากหลายทางพันธุกรรมของไก่เขียวพาลีในพื้นที่อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์  ด้วยการวิเคราะห์ยีนไซโตโครมบีในไมโตคอนเดรีย. วารสารราชภัฏพระนคร สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปีที่ 11 ฉบับพิเศษ (พฤศจิกายน 2559) หน้า 355-365.

สิริวดี  พรหมน้อย. 2559. ความหลากหลายของแมลงและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในดินในพื้นที่ ป่าอนุรักษ์ของนิคมสหกรณ์ฟากท่า อำเภอฟากท่า จังหวัดอุตรดิตถ์. การประชุมวิชาการชมรมคณะปฏิบัติงานวิทยาการ อพ.สธ. ครั้งที่ 7 วันที่ 24-26 มีนาคม 2559. มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัด ขอนแก่น

Siriwadee Phromnoi and Somkiat Dontongdang. 2016. Genetic Diversity of Swamp Buffalo in Uttaradit Province, Thailand. The 17th Asian-Australasian Association of Animal Production Societies Animal Science Congress, August 22-25, 2016. Japan: 1127-1130.

สิริวดี  พรหมน้อย. 2556. ความหลากหลายของแมลงและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในดิน เพื่อเป็นตัวชี้วัดทางชีวภาพของพื้นที่สวนทุเรียน อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์. ปีที่ 8 ฉบับที่ 2. กรกฎาคม- ธันวาคม 2556. หน้า 220-231.

สิริวดี  พรหมน้อย. 2557. ศึกษาสภาพการเลี้ยงกระบือเพื่อการใช้ประโยชน์และการอนุรักษ์อย่างยั่งยืนในจังหวัดอุตรดิตถ์. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์. ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2557. หน้า 331-344.

สิริวดี  พรหมน้อย เจษฎา  มิ่งฉาย และสกลวัฒน์ กมลงาม. 2555. การเปรียบเทียบผลการกำจัดเห็บโค (Boophilus microplus) ด้วยไส้เดือนฝอยสายพันธุ์ไทย (Steinernema thailandense). วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ปีที่ 7 ฉบับที่ 16: หน้า 2-8.

Phromnoi, S., K. Sirinarumitr and T. Sirinarumitr. 2010. Sequence analysis of VP2 gene of canine parvovirus isolates in Thailand. Virus Genes. Aug; 41(1): 23-9. Epub 2010 Mar 30.

Phromnoi, S., R. Sinsiri and T. Sirinarumitr. 2010. Expression of recombinant VP2 protein of canine parvovirus in Echerichia coli. Kasetsart journal. Vol. 44(5).

Phromnoi S. and K. Sirinarumitr. 2005. Effect of removal of seminal plasma from fresh semen before freezing on quality of post-thaw dog semen. Journal of Kasetsart Veterinarians. Vol. 15(2): 69-81.

 

งานแต่งเรียบเรียง

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์. (2560). เมืองงามกลางขุนเขา ความหลากหลายทางชีวภาพในป่าอนุรักษ์ อำเภอฟากท่า จังหวัดอุตรดิตถ์. โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.). 205 หน้า.

สิริวดี  พรหมน้อย. (2560). สัตววิทยา. อุตรดิตถ์ : คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์. จำนวน 200 หน้า.

สิริวดี พรหมน้อย. (2558 ). ตำราเฉลิมพระเกียรติ เทคโนโลยีชีวภาพ. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์. จำนวน 120 หน้า

 

รางวัลทางวิชาการ

พ.ศ. 2561        อาจารย์นิเทศงานสหกิจศึกษาดีเด่น โครงการประกวดผลงานสหกิจศึกษาดีเด่น ระดับมหาวิทยาลัย และนิทรรศการผลงานสหกิจศึกษา ประจำปี 2561 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์

พ.ศ. 2560        นักบริหารจัดการงานวิจัยเด่น ระดับหน่วยงาน งานประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ประจำปี 2560 สืบสานศาสตร์พระราชา สู่พันธกิจสัมพันธ์ สร้างสรรค์การพัฒนาที่ยั่งยืน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์

 

โครงการวิจัยที่กำลังดำเนินการ

โครงการวิจัยเพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการงานวิจัยของมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาพื้นที่

(พ.ศ.2561-2563)

แหล่งทุน : สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (สกสว.)

สถานภาพ : ผู้ร่วมโครงการวิจัย

งบประมาณวิจัย 4,030,000 บาท

 

ประสบการณ์ทางการบริหาร

รองคณบดี กำกับดูแลแผนงานและพันธกิจสัมพันธ์

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

(พฤศจิกายน 2561 ถึง ปัจจุบัน)

รองคณบดี กำกับดูแลงานวิจัย บริการวิชาการ และงานพันธกิจสัมพันธ์

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

          (มีนาคม 2560 ถึง พฤศจิกายน 2561)

          หัวหน้าหน่วยจัดการงานวิจัยและพันธกิจสัมพันธ์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

          (มิถุนายน 2558 ถึง มีนาคม 2560)

References

ชุติมา แก้วประชุม. (2561). ผลของการพัฒนาสูตรอาหารต่อสมรรถภาพการผลิตไก่งวง. วารสารวิชาการสถาบันอาชีวศึกษาเกษตร, ปีที่ 2 ฉบับที่ 1, มกราคม-มิถุนายน 2561, 58-65.

ธนรรษมลวรรณ พลมั่น ถาวรณ์ สุบรรณรัตน์ และทรงศักดิ์ จำปาวะดี. (2558). การประเมินค่าพลังงานที่ใช้ประโยชน์ได้และการย่อยได้ของเศษเหลือจากอุตสาหกรรมการเกษตรเพื่อเป็นอาหารสัตว์เคี้ยวเอื้อง.วารสารแก่นเกษตร, 43 ฉบับพิเศษ 1, 491-499.

นพรัตน์ ผกาเชิด ทิพย์สุดา บุญมาทัน ธนิตพันธ์ พงษ์จงมิตร และฐิติมา นรโภค. (2562). ผลของการเสริมยีสต์ (Saccharomyces cerevisiae) และลูกแป้งข้าวหมากต่อคุณค่าทางโภชนะของเปลือกมันสำปะหลัง. วารสารแก่นเกษตร, 47 ฉบับพิเศษ 2, 819-824.

มนัสนันท์ นพรัตน์ไมตรี พรพรรณ แสนภูมิ วรางคณา กิจพิพิธ และกฤติยา เลิศชุณหะเกียรติ. (2556). การศึกษาการผลิตโปรตีนเซลล์เดียวจากเปลือกสับปะรดโดยใช้ยีสต์และบาซิลัสซัปติลิสเพื่อพัฒนาเป็นอาหารสัตว์. วารสารแก่นเกษตร, 41 ฉบับพิเศษ 1, 80-86.

รุ่งกานต์ กล้าหาญ บัณฑิต ยวงสร้อย และจิตตรา วีระกุล. (2557). การเจริญเติบโตประสิทธิภาพการใช้อาหารและคุณภาพเนื้อของปลาดุกลูกผสมที่ได้รับอาหารผสมฟักทอง. วารสารแก่นเกษตร, 42 ฉบับพิเศษ 1, 785-791.

วีระพล แจ่มสวัสดิ์ สุรศักดิ์ สาลีพัชราภรณ์ และจารุวัฒน์ ชินสุวรรณ์. (2558). การวิจัยประสิทธิภาพการใช้เปลือกสับปะรดเป็นอาหารหยาบ ผลพลอยได้ของมันสำปะหลังจากการผลิตเอทานอลเป็นแหล่งอาหารพลังงาน และพืชตระกูลถั่วท้องถิ่นเป็นแหล่งอาหารเสริมโปรตีนในการเลี้ยงโคเนื้อ. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก, ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2558, 91-99.

สิริวดี พรหมน้อย. (2560). การปรับปรุงคุณภาพกากมันสำปะหลังด้วยยีสต์เพื่อใช้เป็นวัตถุดิบอาหารสัตว์เคี้ยวเอื้องในพื้นที่จังหวัดอุตรดิตถ์. วารสารวิชาการวิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์ประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์, ฉบับที่ 2, 97-107.

อนันท์ เชาว์เครือ ญาณิกา ไหละครบุรี โชติรส คุณมี ชวันรัส สันทอง และสุภาวดี ฉิมทอง. (2557). การประเมินคุณค่าทางโภชนะและคาร์โบไฮเดรตในน้ำตาลที่ละลายได้ของเศษเหลือจากสับปะรด. วารสารแก่นเกษตร, 42 ฉบับพิเศษ 1, 301-306.

Mc Dowell, R.E. (1972). Improvement of Livestock Production in Warm Climate. W.H. Freeman and Company San Francisco. 711 p.

Udin, B.E. (1978). Background to the Feed Lot. Majuternak TLP Feed Lot SDU. BHD. Malaysia.