การพัฒนาสมาร์ตมิเตอร์สำหรับการใช้ในการจัดการพลังงานไฟฟ้า ในศูนย์พลังงาน มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร

Main Article Content

ภาคิณ มณีโชติ
วัชระ วงค์ปัญโญ
บุญวัฒน์ วิจารณ์พล

บทคัดย่อ

ในงานวิจัยฉบับนี้ได้นำเสนอการพัฒนาสมาร์ทมิเตอร์ สำหรับใช้ในการจัดการพลังงานไฟฟ้าในศูนย์พลังงาน มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร เพื่อช่วยในการจัดการพลังงานไฟฟ้าและลดค่าใช้จ่ายให้กับมหาวิทยาลัย โดยเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ใช้ในการทดลองได้แก่ พัดลม ขนาด 46 W จำนวน1 เครื่อง พัดลมไอน้ำ ขนาด 130 Wจำนวน 1 เครื่อง  หลอดไฟ ขนาด 36 W จำนวน 1 หลอด โปรเจกเตอร์ ขนาด 440 W จำนวน 1 เครื่อง และ โน๊ตบุ๊ค 90 w จำนวน 1 เครื่อง ตามลำดับ จากผลการทดลองพบว่า ใน 1 สัปดาห์ ของอุปกรณ์ไฟฟ้า ทั้ง 5 ชุด มีกระแสไฟฟ้ารวมเท่ากับ 15.84 แอมป์แรงดันไฟฟ้าเท่ากับ 230.8 โวลท์ พลังงานไฟฟ้า เท่ากับ 13.6 kWh และค่าไฟเท่ากับ 80.99 บาท นอกจากนี้สมาร์ทมิเตอร์ที่นำเสนอสามารถตรวจวัดการใช้พลังงานไฟฟ้า แสดงค่าปริมาณไฟฟ้า แจ้งเตือนค่าไฟฟ้า จำนวนเงินที่ต้องจ่ายให้กับการไฟฟ้า และสามารถควบคุม Smart Meter ผ่าน Smart Phone ได้ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ดังนั้นสมาร์ทมิเตอร์นี้สามารถนำไปใช้งานในการจัดการพลังงานไฟฟ้าในศูนย์พลังงาน มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

การุณย์ ชัยวณิชย์, สุรัตน์ เศษโพธิ์และนเรศใหญ่วงศ์. (2562). การวิเคราะห์ประสิทธิภาพและแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพทางพลังงานของระบบสมาร์ตกริด. วารสารมหาวิทยาลัยทักษิณ, 22(2), 59-66.
กฤติเดชดวงใจบุญ .(2562). การศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิตนํ้าร้อนแสงอาทิตย์แบบผสมผสานสำหรับอาคารประเภทโรงแรม. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์สาขาวิทยาศาตร์และเทคโนโลยี (เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น), 13(1), 65-78.
ณัฏฐกา หอมทรัพย์, วชิระ จงบุรี, ณัฐพล ศรสูงเนิน และ ถิระภัทร จริยะนรวิชช์. (2558). การพัฒนา Protocol ตามมาตราฐาน DLMS/COSEM สำหรับต้นแบบมิเตอร์อัจฉริยะ. วิศวกรรมสาร มก. 94, 39-48.
ธนพล แสงสุวรรณ. (2562). การยอมรับและการใช้งานสมาร์ตกริดเทคโนโลยีของผู้บริโภค. วารสารสังคมศาสตร์วิชาการ, 12(2), 215-230.
ธนวิชญ์กมลฉ่ำ และหทัยรัตน์พินิจสุวรรณ. (2559).อินเตอร์เน็ตของทุกสรรพสิ่งของการควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้าและบันทึกข้อมูลการใช้พลังงาน. วิทยานิพนธ์วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรี
นครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ.
บดินทร์เสนานนท์ และคณะ .(2562). การวิเคราะห์เศรษฐศาสตร์โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ 8 เมกะวัตต์ระหว่างการติดตั้งแบบระบบคงที่กับแบบระบบติดตามดวงอาทิตย์ในประเทศไทย. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์สาขาวิทยาศาตร์และเทคโนโลยี (เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น), 14(2), 1-19.
ประพนธ์อัศวภาณุวัฒน์. (2555). เรียนให้รู้เล่นให้เป็นใช้ให้เกิดประโยชน์ตอน MIT App Inventor กับการพัฒนาโปรแกรมแอนดรอยด์. ไมโครคอมพิวเตอร์, 163.
ปัญญามัฆะศร. (2559). หลักการพื้นฐานการเชื่อมต่ออุปกรณ์ Internet of Things (ตอนที่ 1). Modern Manufacturing, 53.
พงศ์พันธุ์ปริยวงศ์. (2559). การวิเคราะห์การเชื่อมโยงในระบบ IoT. เซมิคอนดักเตอร์อิเล็กทรอนิกส์, 80-2.
ภคมนปินตานาและปฏิพัทธิ์ถนอมพงษ์ชาติ .(2562). สมรรถนะของระบบการอบแห้งข้าวแต๋นโดยใช้แหล่งพลังงานความร้อนแบบผสมผสาน. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์สาขาวิทยาศาตร์และเทคโนโลยี (เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น), 14(1), 27-38.
รุ่งโรจน์เกื้อกูลพงศ์. (2556). วิวัฒนาการของระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android) สู่เทคโนโลยีในอนาคต. เซมิคอนดักเตอร์อิเล็กทรอนิกส์,135-7.
สมพล โคศรี. (2554). ระบบการควบคุมและจัดการพลังงานสมาร์ตกริดสำหรับผลิตไฟฟ้าแบบแยกเดี่ยวจากพลังงานทดแทน. วิทยานิพนธ์วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, ปทุมธานี.
สมชาย เจียจิตต์สวัสดิ์ และ คณะ. (2560). การประเมินศักยภาพในการบริหารและจัดการพลังงานของระบบสะสมพลังงานแบบไฮบริดสำหรับระบบไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ .วารสารวิชาการเทคโนโลยีพลังงานและสิ่งแวดล้อม, 4(2): 46-55.
สมรรชัย จันทรัตน์ และนชิรัตน์ ราชบุรี. (2557). เครื่องวัดปริมาณการใช้ไฟฟ้าผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต.รายการประชุมสัมนาทางวิชาการรูปแบบพลังงานทดแทนสู่ชุมชนแห่งประเทศไทย (หน้า 802-806). 12-13 พฤศจิกายน 2557, ประจวบคีรีขันธ์.
สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน. (2562). แผนพัฒนาการผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย พ.ศ.2558-2579 (PDP2018). กระทรวงพลังงาน.
ศุภมาส วิจารย์. (2553). การพัฒนาเชิงนวัตกรรมมิเตอร์อัจฉริยะแบบไร้สายสำหรับสังเกตการใช้ไฟฟ้าแบบเวลาจริง.วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,กรุงเทพฯ.
Hersent, O. B., Elloumi, D. and Elloumi, O. (2012). The Internet of Things Key applications and Protocols. USA: John Wiley & Sons Ltd.
Stephen, F. B. (2014). Smart grid communications-enabled intelligence for the electric power grid. USA: John Wiley & Sons Ltd.