ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ และความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งเต้านมของสารสกัดใบติ้ว
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปริมาณสารประกอบฟีนอลิก ปริมาณประกอบฟลาโวนอยด์ ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ และฤทธิ์ความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งเต้านม (MCF-7) ของสารสกัดใบติ้วจากเฮกเซน เอทิลอะซิเตรต และเมทานอล ผลการทดลองพบว่า สารสกัดเมทานอลมีปริมาณสารประกอบฟีนอลิก ฟลาโวนอยด์ และฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระสูงที่สุด โดยมีค่าเท่ากับ 150.21 มิลลิกรัมแกลลิกต่อกรัมน้ำหนักสารสกัด 41.81 มิลลิกรัมสมบูรณ์ของเคอร์ซิตินต่อกรัมน้ำหนักสารสกัด และ 9.87 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ตามลำดับ สารสกัดใบติ้วจากเมทานอลแสดงฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งเต้านม (MCF-7) ได้ดีที่สุด โดยมีค่า IC50 เท่ากับ 12.45 ± 2.69 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร
Article Details
References
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. (2563). ข้อมูลพืชสมุนไพรคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. สืบค้นเมื่อ 12 กันยายน 2563, จาก https://pharmacy.su.ac.th/herbmed/herb/text/herb_detail.php?herbID=268.
ณพัฐอร บัวฉุน. (2563). สารพฤกษเคมีเบื้องต้น และฤทธิ์ต้ํานอนุมูลอิสระของสลัดน้ำพืชสดและพืชแห้ง. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 14(1), 144-154.
ธีรวุฒิ คูหะเปรมะ. (2560). โรคมะเร็ง. สืบค้นเมื่อ 5 กันยายน 2563, จาก https://www. wattanosothcancerhospital.com/all-about-cancer/general-information-about-cancer.
ธนศักดิ์ แซ่เลี่ยว, ศศิธร จันทนวรางกูร และ วรรณี จิรภาคย์กุล. (2551). ผลของตัวทำละลายต่อปริมาณสารประกอบฟีนอลิกและความสามารถต้านออกซิเดชันของกระชายเหลือง (Boesenbergia pandurata). ใน: การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 46, วันที่ 29 มกราคม – 1 กุมภาพันธ์. มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 538-545.
นันทวัน บุณยะประภัศร. (2536). การตรวจสอบทางเคมีเบื้องต้นของสารสกัดจากพืช. ใน วันดี กฤษณพันธ์ (ผู้รวบรวม), ยาและผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ เล่มที่ 1 (หน้า 116-129). ภาควิชาเภสัชวินิจฉัย, คณะเภสัชศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล.
บังอร วงศ์รักษ์ และ ศศิลักษณ์ ปิยะสุวรรณ์. (2549). ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของผักพื้นบ้าน. (วิทยานิพนธ์เภสัชศาสตรบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหิดล).
ภาเกล้า ภูมิใหญ่ และ ชญาณิศา สุพา. (2558). ตัวทำละลายที่มีผลต่อฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและสารประกอบฟีนอลิกทั้งหมดจากพืชสมุนไพร. ใน: การประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร ครั้งที่ 2, วันที่ 22 ธันวาคม 2558. มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร, กำแพงเพชร, 627-635.
วันเพ็ญ เจริญจิต. (2547). พรอพอลิสจากผึ้งผลิตภัณฑ์ธรรมชาติต้านโรค. ชมรมการจัดการทรัพยากรเกษตร. สืบค้นเมื่อ 12 กันยายน 2563, จาก https://www.Matichon. co.th.
วสันต์ สุมินทิลี่, ปนิดา บรรจงสินศิริ, จันทนา ไพรบูรณ์ และ วรรณวิมล คล้ายประดิษฐ. (2557). กิจกรรมการต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดหยาบจากสาหร่ายพวงองุ่น (Caulerpa lintillifera) สาหร่ายทุ่น. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 9(1), 63-75.
ศรมน สุทิน, กิตติพัฒน์ โสภิตธรรมคุณ และ พัชรี ภคกษมา. (2560). การทดสอบความ สามารถในการต้านอนุมูลอิสระและการยับยั้งการเจริญของเซลล์มะเร็งท่อน้ำดีของสารสกัดจากใบต้นจำปีและจำปา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.
ศูนย์ข้อมูลออนไลน์. (2563). 5 อันดับ มะเร็งในคนไทย รู้ไว้ใกล้ตัวกว่าที่คิด!. สืบค้นเมื่อ 20 ตุลาคม 2563, จาก http://www.ashthailand.or.th/smartnews/post/detail/558/news_all.php.
อรพรรณ จันทรวิชิต และ ชัชฎาพร องอาจ. (2558). ปริมาณสารประกอบฟีนอลิกรวมฤทธ์การต้านอนุมูลอิสระ และการต้านเชื้อจุลินทรีย์ของสารสกัดวัชพืช. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร, 46(ฉบับพิเศษ 3), 285-288.
อนันต์ อธิพรชัย, สุรีย์พร หอมวิเศษวงศา และ สุวรรณา เสมศรี. (2562). การค้นหาและพัฒนาสมุนไพรไทยสำหรับรักษาโรคเบาหวาน. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.
Arvouet-Grand, A., Vennat, B., Pourrat, A., & Legret, P. (1994). Standardization of propolis extract and identification of principal constituents. Journal de Pharmacie de Belgique, 49(6), 462-468.
Bagchi, K., & Puri, S. (1998). Free radicals and antioxidants in health and disease: a review. Eastern Mediterranean Health Journal, 4(2), 350-360.
Benjaporn, B., Nootchanat, M., & Ampa, K. (2017). Cratoxy formosum leaf extract inhibits proliferation and migration of human breast cancer MCF-7 cells. Biomedicine and pharmacotherapy, 90, 77-84.
Beyer, R. (1992). An Analysis of Role of Coenzyme Q in Free Radical Generation and As Antioxidant. Biochemistry and Cell Biology, 7, 390–403.
Braca, A., Sortion, C., Politi, M., Morelli, I., & Meddez, J. (2002). Antioxidant activity of flavonoids from Liccania licaniaeflora. Journal of Ethnopharmacology, 79(3), 379–381.
Bundit, P., Jureerut, D., Ponlatham, C., Ratree, T., Tueanjit, K., Narintorn, R., Roongpet, T., & Patcharee, B. (2015). Cytotoxicity of Cratoxylum Formosum Subsp.
Pruniflorum Gogel Extracts in Oral Cancer Cell Lines. Asian Pacific Journal of Cancer Prevention, 16(16), 7155-7159.
Dugas, A. J., Castaneda-Acosta, J., Bonin, G. C., Price, K. L., Fischer, N. H., & Winston, G. W. (2000). Evaluation of the total peroxyl radical-scavenging capacity of flavonoids: structure-activity relationships. Journal of Natural Products, 63(3), 327-331.
Lou, Y., Joseph, S., Li, L., Graber, E., Liu, X., & Pan, G. (2016). Water Extract from Straw Biochar Used for Plant Growth Promotion: An Initial Test. BioResources, 11(1), 249-266.
Majhenic, L., Skerget, M., & Knez, Z. (2007). Antioxidant and antimicrobial activity of quarana seed extracts. Food Chemistry, 104(3), 1258-1268.
Pereira D., Valentão, P., Pereira, J., & Andrade, P. (2009). Phenolic: From chemistry to biology. Molecules, 14, 2202-2211.
Pietta, P. (2000). Flavonoids as antioxidants. Journal of Natural Products, 63, 1035-1042.
Pourmorad, F., Hosseinimehr, S., & Shahabimajd, N. (2006). Antioxidant activity, phenol and flavonoid contents of some selected Iranian medicinal plants. African Journal of Biotechnology, 5(1), 1142-1145.
Ren Y., Matthew S., Lantvit D. D., Ninh T. N., Chai H., Fuchs J. R., Soejarto D. D., Carcache E. J., Swanson S. M., & Kinghorn A. D. (2011). Cytotoxic and NF-kB Inhibitory constituents of the stems of Cratoxylum cochinchinense and their semisynthetic analogues, Journal of Natural Products, 74, 1117-1125.
Rice-Evans, C. A. & Miller, N. J. (1996). Antioxidant activities of flavonoids as bioactives compounds of foods. Biochemical Society Transactions, 24(3), 790-795.
Su C. C., Lin J. G., Li T. M., Chung J. G., Yang J. S., Ip S. W., Lin W. C., & Chen G. W. (2006). Curcumin-induced apoptosis of human colon cancer colo 205 cells through the production of ROS, Ca2+ and the activation of caspase-3. Anticancer Research, 26, 4379–4389.
Woraratphoka, J., Intarapichet, K., & Indrapichate, K. (2012). Antioxidant activity and cytotoxicity of six selected, regional, Thai vegetables. American-Eurasian Journal of Toxicological Sciences, 4, 108-117.