การขยายพันธุ์เจตมูลเพลิงขาวโดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

Main Article Content

จตุพร หงส์ทองคำ
นัตติยากรณ์ ผาเนตร
จริยา สิงห์มาตร

บทคัดย่อ

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อขยายพันธุ์เจตมูลเพลิงขาวในสภาพปลอดเชื้อ โดยนำชิ้นส่วนตาข้างมาฟอกฆ่าเชื้อด้วยโชเดียมไฮโปคลอไรด์ (NaOCl) ที่ระดับความเข้มข้นต่างๆ เป็นเวลา 10 และ 15 นาที พบว่า ความเข้มข้นของ NaOCl และระยะเวลาที่เหมาะสม คือ NaOCl ความเข้มข้น 1.24% เป็นเวลานาน 10 นาที มีอัตราการรอดสูงสุด 92% จากนั้นนำชิ้นส่วนตาข้างที่ผ่านการฟอกฆ่าเชื้อแล้วมาเพาะเลี้ยงบนอาหารสูตร MS ที่เติม BA ความเข้มข้น 0-4 มก./ล. เพื่อชักนำให้เกิดยอด เป็นเวลา 8 สัปดาห์ พบว่า อาหารที่เติม BA ความเข้มข้น 4 มก./ล. ชักนำให้ตาข้างเกิดยอดได้มากที่สุด 3.28 ยอด/ชิ้นส่วนพืช ยอดมีความสูงและมีจำนวนใบเฉลี่ยสูงที่สุดเท่ากับ 61.86 มม. และ 8.57 ใบ/ยอด ตามลำดับ เมื่อย้ายชิ้นส่วนยอดของเจตมูลเพลิงขาว มาเพาะเลี้ยงบนอาหาร MS ที่เติม NAA ระดับความเข้มข้น 0-2 มก./ล. เพื่อชักนำให้เกิดราก เป็นเวลา 4 สัปดาห์ พบว่า อาหารที่เติม NAA ความเข้มข้น 2 มก./ล. สามารถชักนำให้ยอดเกิดรากเฉลี่ยได้มากที่สุด 11.75 รากต่อยอด และมีความยาวรากเฉลี่ยสูงสุด 31.50 มม.

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กัญญาภรณ์ พิพิธแสงจันทร์. (2561). เทคโนโลยีการอนุรักษ์เชื้อพันธุกรรมพืชในธนาคารเชื้อพันธุ์พืชกรมวิชาการเกษตร. รายงานโครงการวิจัย, กรมวิชาการเกษตร.

เกศินี ศรีปฐมกุล, อารยา อาจเจริญ เทียนหอม และ ทัศนัย จารุวัฒนพันธ์. (2563). การขยาย พันธุ์ในสภาพปลอดเชื้อหญ้าพันเกลียว (Ceropegia thailandica Meve) พืชใกล้สูญพันธุ์อย่างยิ่งในประเทศไทย. The Journal of Science and Technology, 9(1), 77-89. Doi:10.14456/tjst.2020.7.

จันทร์เพ็ญ ใจซื่อ, สุรพล ฐิติธนากุล, สรายุทธ อ่อนสนิท และ เยาวพรรณ สนธิกุล. (2562). เทคนิคการฟอกฆ่าเชื้อชิ้นส่วนต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิงจากธรรมชาติเพื่อการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ. แก่นเกษตร 47(ฉบับพิเศษ 1), 1515-1520.

นงนุช เลาหะวิสุทธิ์, อัจฉรี เรืองเดช, สมเกียรติ สีสนอง และ สมชาย หวังวิบูลย์กิจ. (2560). ผลของสารฟอกฆ่าเชื้อและสารควบคุมการเจริญเติบโตในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพรรณไม้น้ำบูเซป Bucephalandra sp. วารสารเกษตรพระจอมเกล้า, 35(2), 95-103.

บุญยืน กิจวิจารณ์. (2547). เทคโนโลยีเบื้องต้นการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชเพื่อพัฒนาพืช. ขอนแก่น: ภาควิชาชีววิทยา, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ประศาสตร์ เกื้อมณี. (2538). เทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.

พัชรียา บุญกอแก้ว. (2560). สารควบคุมการเจริญเติบโตในพืชสวน. กรุงเทพฯ: บริษัทสหมิตร พริ้นติ้งแอนด์พับลิชิ่ง จำกัด.

เพ็ญนภา ทรัพย์เจริญ. (2542). การแพทย์แผนไทยสายใยแห่งชีวิตและวัฒนธรรม เล่มที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.

ภพเก้า พุทธรักษ์, วารุต อยู่คง และ มณฑล สงวนเสริมศรี. (2554). การขยายพันธุ์ว่านสี่ทิศโดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อในสภาพปลอดเชื้อ. วาสารนเรศวรพะเยา, 4(3), 3-8.

รังสฤษฏ์ กาวีต๊ะ. (2540). การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช : หลักการและเทคนิค. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาเกษตรศาสตร์.

วราภรณ์ ภูตะลุน. (2551). การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชสมุนไพร : แนวทางการศึกษาเพื่อผลิตสารทุติยภูมิที่มีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา. ขอนแก่น: บริษัทขอนแก่นพิมพ์พัฒนา จำกัด.

ศิวพงศ์ จำรัสพันธุ์. (2546). การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันราชภัฏอุดรธานี, อุดรธานี.

Aziz, M. H., Dreckschmidt, N. E., & Verma, A. K. (2008). Plumbagin, a medicinal plant-derived naphthoquione, is a novel inhibitor of the growth and invasion of hormone-refractory prostate cancer. Cancer Research, 68, 9024-9032.

Ceasar, S. A., Ayyanar, M., & Ignacimuthu, S. (2013). An Improved Micropropagation Protocol for Plumbago zeylanica L. An Important Medicinal Plant. Asian Journal of Biological Sciences, 6(4), 214-220.

Chatterjee, T., & Ghosh, B. (2015). Simple Protocol for Micropropagation and In Vitro Conservation of Plumbago zeylanica L.: An Important Indigenous Medicinal Plant. International Journal of Bio-resource and Stress Management, 6(1), 068-075.

Didry, N., Dubrevil, L., & Pinkas, M. (1994). Activity of anthroquinonic and naphthoquinonic compounds on oral bacteria. Phamazie, 49, 681-683.

Gbadamosi, I. T., & Egunyomi, A. (2010). Micropropagation of Plumbago zeylanica L. (Plumbaginaceae) in Ibadan, Southwesten, Nigeria. Journal of Medicinal Plants Research, 4(4), 293-297.

Pavia, S. R., Figueiredo, M. R., Aragão, T. V., & Kaplan, M. A. (2003). Antimicrobial activity in vitro of plumbagin isolated from Plumbago species. Mem. Inst. Oswaldo Cruz, 98(7), 959-961.

Raja, H. D., Jenifer, A. M., Steffi, P. F., Thamilmaraiselvi, B., Srinivasan, P. & Tamilvanan, R. (2018). Micripropagation of Plumbago zeylanica – An important medicinal plant. World Journal of Pharmacy and Pharmaceutical Sciences, 7(4), 1823-1829. Doi:10.20959/wjpps20184-11467

Sivanesan, I., & Jeong, B. R. (2009). Micropropagation of Plumbago zeylanica L. African Journal of Biotechnology, 8(16), 3761-3768.

Taiz, L., & Zeiger, E. (2002). Plant Physiology. The Benjamin/Cummings Publishing Company, Inc., California. 45-54 p.

Tilak, J. C., Adhikari, S., & Devasagayam, T. P. (2004). Antioxidant properties of Plumbago zeylanica, an Indian medicinal plant and its active ingredient, plumbagin. Redox Rep, 9(4), 219-227.

Vijay, R., Shukal, J., & Saxena, R. (2016). Micropropagation of Plumbago zeylanica L.: An Important Medicinal Plant of India. International Journal of Pure & Applied Bioscience, 4(6), 159-167.