การสำรวจผักพื้นบ้านในตำบลป่ามะนาว อำเภอบ้านฝาง จังหวัดขอนแก่น
Main Article Content
บทคัดย่อ
วิถีการดำเนินชีวิตของคนอีสานตั้งแต่อดีต การประกอบอาหารและการรับประทานอาหารจะมีผักข้างเคียงเสมอ ซึ่งเป็นผักที่มีอยู่ในท้องถิ่นหรือปลูกไว้ใช้ในครัวเรือน เพื่อไม่ให้องค์ความรู้และการนำไปใช้ประโยชน์ของผักพื้นบ้านสูญหายไป เพื่อศึกษาพรรณพืชพื้นบ้านที่นำมาใช้ประโยชน์ในหมู่ 4 บ้านหินกอง และ หมู่ 6 บ้านวังโพน ตำบลป่ามะนาว อำเภอบ้านฝาง จังหวัดขอนแก่น เป็นการศึกษาเชิงสำรวจ โดยการใช้แบบสอบถามกึ่งโครงสร้าง และการสัมภาษณ์เชิงลึกจะเป็นการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญเป็นรายบุคคล (in-depth one by one) ผลการวิจัย พบผักพื้นบ้านทั้งสิ้น 27 วงศ์ 41 ชนิด พืชที่พบว่ามีใช้ประโยชน์มากที่สุดคือขิง กระชาย และข่า ซึ่งเป็นสมุนไพรในครัวเรือนที่สามารถพบได้ในทุกพื้นที่ มีรสร้อน สรรพคุณช่วยในการขับลม แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ บำรุงร่างกาย แก้ท้องผูก เป็นต้น
Article Details
บท
บทความวิจัย
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2542). แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์: ภูมิปัญญาทางการแพทย์และมรดกทางวรรณกรรมของชาติ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
กองประกอบโรคศิลปะ. (2542). ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม. กรุงเทพฯ: กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ.
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (2561). ฐานข้อมูลพฤกษศาสตร์พื้นบ้าน องค์การสวนพฤกษศาสตร์. สืบค้นเมื่อ 21 พฤศจิกายน 2561 จาก http://www.qsbg. org/Database/plantdb/mdp/.
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. (2562). ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์. สืบค้นเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2562 จาก http://www.phargarden.com/main.php.
ณุฉัตรา จันทร์สุวานิชย์ และ ชาตรี ชาญประเสริฐ. (2535). การสำรวจและรวบรวมพันธ์พืชสมุนไพรบริเวณพื้นที่ว่างในเขตอำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี. วารสารเกษตรศาสตร์, 26(1), 20-38.
เต็ม สมิตินันทน์. (2523). ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัดฟันนี่พับลิชชิ่ง.
ปรีชา หนูทิม. (2555). การเปรียบเทียบประสิทธิผลของยาสหัสธารากับยาเม็ดไดโคลฟีแนคในการลดอาการปวดกล้ามเนื้อ. (วิทยานิพนธ์เภสัชศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร).
พลอยระดา ภูมี และ หทัยชนก ใจก้าวหน้า. (2561). การสำรวจพืชอาหารในเขตพื้นที่อนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี. สืบค้นเมื่อ 10 พฤศจิกายน 2561 จาก http://khajornsak.net/rspg2560/pdf/4_Oral/O-03.pdf.
ยุทธพงษ์ ศรีมงคล. (2550). การเปรียบเทียบสรรพคุณของสารสกัดเถาวัลย์เปรียงกับไดโคลฟีแนคเป็นยาบรรเทาอาการปวดหลังส่วนล่าง. วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก, 5(1), 17-23.
องอาจ หาญชาญเลิศ และคณะ. (2561). การสำรวจและอนุรักษ์พันธุ์พืชสมุนไพรในเขตจังหวัดนครราชสีมา. สืบค้นเมื่อ 15 พฤศจิกายน 2561 จาก http://www.rspg.or.th/ articles/e_book/volume_2/pdf/doc_75.pdf
อมลวัทน์ แท่นคำ. (2560). ประสิทธิผลของยาธรณีสัณฑะฆาตเทียบกับยานาพรอกเซนในการรักษาอาการปวดกล้ามเนื้อและเยื่อพังพืดเรื้อรัง. (วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยขอนแก่น).
อรทัย เนียมสุวรรณ, พัชรวลัย ใจสมุทร, เกศริน มณีนูน และ สนั่น ศุภธีรสกุล. (2555). การสำรวจพืชสมุนไพรที่ใช้เพื่อบำรุงกำลัง จากป่าชุมชนบ้านทุ่งสูง อำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา, 17(2), 160-166.
Agil, M., Kusumawati, I., & Purwitasari, N. (2017). Phenotypic Variation Profile of Marsilea crenata Presl. Cultivated in Water and in the Soil. Journal of Botany, Doi.org/10.1155/2017/7232171.
Anantasook, N., Gunun, P., Wanapat, M., & Kaewwongsa, W. (2014). Replacement of soybean meal by kased-kok meal. Khon Kaen Agriculture Journal, 42(1), 216–222.
Chavez, D. J., Kabelka, E. A., & Chaparro, J. X. (2011). Screening of Cucurbita moschata duchesne germplasm for crown rot resistance to Floridian isolates of Phytophthora capsici leonian. HortScience, 46(4), 536–540.
Joshi, B. K., Kc, H. B., & Tiwari, R. K. (2004). Descriptors for Sponge Gourd Luffa cylindrica (L.) Roem. NARC, LIBIRD and IPGRI.
Narasannavar, A. R., Gasti, V. D., Shantappa, T., Mulge, R., Allolli, T. B., & Thammaiah, N. (2014). Heterosis studies in ridge gourd [Luffa acutangula (L.) Roxb.]. Department of Vegetable Science, 27(1), 47–51.
Narayanan, K. B., & Sakthivel, N. (2011). Extracellular synthesis of silver nanoparticles using the leaf extract of Coleus amboinicus Lour. Materials Research Bulletin, 46(10), 1708–1713.
Qadrie, Z. L., Hawisa, N. T., Khan, M. W. A., Samuel, M., & Anandan, R. (2009). Antinociceptive and anti-pyretic activity of Benincasa hispida (Thunb.) Cogn. In Wistar albino rats. Pakistan Journal of Pharmaceutical Sciences, 22(3), 287–290.
Shah, B. N., & Seth, A. K. (2010). Pharmacognostic studies of the Lagenaria siceraria (MOLINA) standley. International Journal of PharmTech Research, 2(1), 121–124.
กองประกอบโรคศิลปะ. (2542). ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม. กรุงเทพฯ: กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ.
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (2561). ฐานข้อมูลพฤกษศาสตร์พื้นบ้าน องค์การสวนพฤกษศาสตร์. สืบค้นเมื่อ 21 พฤศจิกายน 2561 จาก http://www.qsbg. org/Database/plantdb/mdp/.
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. (2562). ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์. สืบค้นเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2562 จาก http://www.phargarden.com/main.php.
ณุฉัตรา จันทร์สุวานิชย์ และ ชาตรี ชาญประเสริฐ. (2535). การสำรวจและรวบรวมพันธ์พืชสมุนไพรบริเวณพื้นที่ว่างในเขตอำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี. วารสารเกษตรศาสตร์, 26(1), 20-38.
เต็ม สมิตินันทน์. (2523). ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัดฟันนี่พับลิชชิ่ง.
ปรีชา หนูทิม. (2555). การเปรียบเทียบประสิทธิผลของยาสหัสธารากับยาเม็ดไดโคลฟีแนคในการลดอาการปวดกล้ามเนื้อ. (วิทยานิพนธ์เภสัชศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร).
พลอยระดา ภูมี และ หทัยชนก ใจก้าวหน้า. (2561). การสำรวจพืชอาหารในเขตพื้นที่อนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี. สืบค้นเมื่อ 10 พฤศจิกายน 2561 จาก http://khajornsak.net/rspg2560/pdf/4_Oral/O-03.pdf.
ยุทธพงษ์ ศรีมงคล. (2550). การเปรียบเทียบสรรพคุณของสารสกัดเถาวัลย์เปรียงกับไดโคลฟีแนคเป็นยาบรรเทาอาการปวดหลังส่วนล่าง. วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก, 5(1), 17-23.
องอาจ หาญชาญเลิศ และคณะ. (2561). การสำรวจและอนุรักษ์พันธุ์พืชสมุนไพรในเขตจังหวัดนครราชสีมา. สืบค้นเมื่อ 15 พฤศจิกายน 2561 จาก http://www.rspg.or.th/ articles/e_book/volume_2/pdf/doc_75.pdf
อมลวัทน์ แท่นคำ. (2560). ประสิทธิผลของยาธรณีสัณฑะฆาตเทียบกับยานาพรอกเซนในการรักษาอาการปวดกล้ามเนื้อและเยื่อพังพืดเรื้อรัง. (วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยขอนแก่น).
อรทัย เนียมสุวรรณ, พัชรวลัย ใจสมุทร, เกศริน มณีนูน และ สนั่น ศุภธีรสกุล. (2555). การสำรวจพืชสมุนไพรที่ใช้เพื่อบำรุงกำลัง จากป่าชุมชนบ้านทุ่งสูง อำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา, 17(2), 160-166.
Agil, M., Kusumawati, I., & Purwitasari, N. (2017). Phenotypic Variation Profile of Marsilea crenata Presl. Cultivated in Water and in the Soil. Journal of Botany, Doi.org/10.1155/2017/7232171.
Anantasook, N., Gunun, P., Wanapat, M., & Kaewwongsa, W. (2014). Replacement of soybean meal by kased-kok meal. Khon Kaen Agriculture Journal, 42(1), 216–222.
Chavez, D. J., Kabelka, E. A., & Chaparro, J. X. (2011). Screening of Cucurbita moschata duchesne germplasm for crown rot resistance to Floridian isolates of Phytophthora capsici leonian. HortScience, 46(4), 536–540.
Joshi, B. K., Kc, H. B., & Tiwari, R. K. (2004). Descriptors for Sponge Gourd Luffa cylindrica (L.) Roem. NARC, LIBIRD and IPGRI.
Narasannavar, A. R., Gasti, V. D., Shantappa, T., Mulge, R., Allolli, T. B., & Thammaiah, N. (2014). Heterosis studies in ridge gourd [Luffa acutangula (L.) Roxb.]. Department of Vegetable Science, 27(1), 47–51.
Narayanan, K. B., & Sakthivel, N. (2011). Extracellular synthesis of silver nanoparticles using the leaf extract of Coleus amboinicus Lour. Materials Research Bulletin, 46(10), 1708–1713.
Qadrie, Z. L., Hawisa, N. T., Khan, M. W. A., Samuel, M., & Anandan, R. (2009). Antinociceptive and anti-pyretic activity of Benincasa hispida (Thunb.) Cogn. In Wistar albino rats. Pakistan Journal of Pharmaceutical Sciences, 22(3), 287–290.
Shah, B. N., & Seth, A. K. (2010). Pharmacognostic studies of the Lagenaria siceraria (MOLINA) standley. International Journal of PharmTech Research, 2(1), 121–124.