อุปกรณ์ช่วยยืนสำหรับผู้สูงอายุ

Main Article Content

สุคนธ์ อาจฤทธิ์
สุภลักษณ์ ศรีน้อย
ณภัทร อินทนนท์
มานิตย์ ธิมาทา

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบและสร้างอุปกรณ์ช่วยยืนได้อย่างสะดวกและปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุผู้ที่ไม่สามรถลุก-ยืนได้ด้วยตัวเอง ซึ่งอุปกรณ์นั้นจะแบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ แบบที่ 1 ใช้หลักการของเบาะลม และแบบที่ 2 ใช้หลักการของแม่แรง และทำการเปรียบเทียบความพึงพอใจต่อการใช้อุปกรณ์นี้จากจำนวนผู้สูงอายุจำนวน 15 คน ที่มีอายุมากกว่า 60 ปีขึ้นไป โดยการเปรียบเทียบทางสถิติด้วยวิธีทดสอบ ที (Paired t-test) กลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุส่วนใหญ่จะเป็นเพศชาย 86.7% และมีอายุเฉลี่ย 63.53 ปี ซึ่งผลการทดลองพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่ออุปกรณ์ช่วยยืนแบบที่ 2 หลักการของแม่แรงมากกว่าแบบที่ 1 หลักการของเบาะลมอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 95% อย่างไรก็ตาม อุปกรณ์ชนิดนี้ควรที่จะได้รับการพัฒนาทางด้านขนาดที่กะทัดรัดลง เพื่อที่จะทำให้สามารถเคลื่อนย้ายอุปกรณ์นี้ได้อย่างสะดวกต่อไป

Article Details

How to Cite
อาจฤทธิ์ ส., ศรีน้อย ส., อินทนนท์ ณ., & ธิมาทา ม. (2017). อุปกรณ์ช่วยยืนสำหรับผู้สูงอายุ. วารสารสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์, 3(2), 10–18. สืบค้น จาก https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/saujournalst/article/view/172354
บท
บทความวิจัย

References

[1] การคาดประมาณจำนวนประชากรไทย พ.ศ. 2553-2583. (2555) กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

[2] กิติ สินธุเสก. (2553). การออกแบบภายในขั้นพื้นฐาน. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

[3] ชูศรี วงศ์รัตนะ. (2549). เทคนิคการเขียนเค้าโครงการวิจัย : แนวทางสู่ความสำเร็จ. กรุงเทพฯ : บริษัทไทเนรมิตกิจ อินเตอร์โปรเกรสซิฟจำกัด.

[4] ประชากรสูงอายุไทย: ปัจจุบันและอนาคต. (2557). กรุงเทพฯ: ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์.

[5] ผลการสำรวจประชากรสูงอายุ พ.ศ. 2556. (2558). กรุงเทพฯ: สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.

[6] พ.ญ.ลัดดา ดำริการเลิศ.วิจัยมุ่งเป้าด้านสุขภาพช่วยเพิ่มคุณค่าการดูแลสุขภาพประชาชนได้อย่างไร. มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย. [เว็บบล็อก].สืบค้นhttps://www.hsri.or.th/sites/default/files/attachment/. เข้าดูเมื่อวันที่ 29/10/2559.

[7] ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ.(2540). สถิติวิทยาทางการวิจัย. (พิมพ์ครั้งที่ 3). ภาควิชาการวัดผลและวิจัยการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. กรุงเทพมหานคร : สุวีริยาสาส์น.

[8] ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.ปราโมทย์ ประสาทกุล, สถานการณ์ผู้สูงอายุ แนวโน้ม และผลกระทบจากการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน, ประชาคมอาเซียน กับ สังคมสูงวัย, ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น, 12 ธันวาคม 2556.

[9] ศุภาพิชญ์ มณีสาคร โฟน โบร์แมนน์ และคณะ. (2015). ประสิทธิผลของนวัตกรรมอัพแอนด์ดาวน์วอล์คเกอร์ต่ออาการปวดข้อเข่า ความมั่นใจเมื่อลุก-นั่ง และความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงต่อการหกล้ม. J Nurs Sci, (4)33,

[10]อุปกรณ์ช่วยพยุงตัวเพื่อผู้สูงอายุ ออกแบบรับ Universal Design. (2558). [ระบบออนไลน์], แหล่งที่มา
http://www.manager.co.th/iBizChannel/ViewNews.aspx?NewsID=9580000126240.เข้าดูเมื่อวันที่ 24/04/2559.

[11]Julius Panero, Martin Zelnik. (1979). Human Dimension & Interior Space: A Source Book of Design Reference Standards. RANDOM HOUSE, INC. New York

[12]Miroslav J. et al. (2007) EVALUATION OF THE STABILITY OF SIT-TO-STAND. Retrieved from http://www.mandh2007.upol.cz/www/download/full_paper_example.pdf