การพัฒนาการขึ้นรูปวัสดุเชิงประกอบที่เสริมแรงด้วยเส้นใยธรรมชาติ: การทบทวนวรรณกรรม

Authors

  • ขจร อัจจิมาจิรัฐิติกาล ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • กิตติ สถาพรประสาธน์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

Keywords:

วัสดุคอมโพสิตช่วยเสริมแรง, เส้นใยสังเคราะห์, เส้นใยธรรมชาติ, fibre-reinforced composites, natural fibers, composite material

Abstract

บทความทบทวนวรรณกรรมได้รวบรวมศึกษาเกี่ยวกับการนำเส้นใยสังเคราะห์และเส้นใยธรรมชาติ ผ่านกระบวนการขึ้นรูปด้วยวัสดุเชิงประกอบหรือวัสดุคอมโพสิตช่วยเสริมแรงให้กับพอลิเมอร์ต่างๆ เช่น พอลิโพรพีลีนกับใยแก้ว, เส้นใยสับปะรดกับเอทิลีนไวนิลอะซิเตต, พอลิยูรีเทนโฟมผสมเส้นใย ปอ, ไม้พลาสติกคอมโพสิตผสมเส้นใยมะพร้าว, ระบบสุญญากาศสำหรับพลาสติกชนิดโพลิไวนิล คลอไรด์, เทอร์โมพลาสติกสตาร์ชจากแป้งข้าวเหนียวกับเส้นใยเซลลูโลสจากกระดาษหนังสือพิมพ์ รีไซเคิล, โครงสร้างผ้าและชนิดเส้นใยการทอ และเทอร์โมพลาสติกคอมโพสิตโพลีพอลิโพรพีลีนกับ เส้นใยอะรามิด ต่อความสามารถในการต้านทานการเจาะทะลุ เพื่อศึกษาข้อมูลนำไปพัฒนา ปรับปรุงโครงสร้างความเป็นผลึกวัสดุคอมโพสิตระหว่างเส้นใยปอจากวัสดุธรรมชาติผสมกับ อีพ๊อกซี่เรซิ่น ใช้ระบบสุญญากาศ และสารเติมแต่งในการขึ้นรูป ช่วยให้คุณสมบัติเชิงกลเท่ากับเส้น ใยคาร์บอนที่มีราคาต้นทุนสูงในการผลิต นำไปทดแทนเส้นใยคาร์บอนที่ไปใช้ในภาคอุตสาหกรรม เช่น การบิน ยานยนต์ ผลิตภัณฑ์สิ่งทอ และเครื่องจักรกลแต่ละประเภทต่อไป

 

DEVELOPMENT OF FORMING COMPOSITE MATERIAL WITH NATURAL FIBERS-REINFORCE: A REVIEW LITERATURE

This reviewed involves with the literature on the use of fibre-reinforced composites with synthetic fiber and natural fibers was the application of composite material using fiber reinforced polymer by forming with composite materials such as glass fiber with polypropylene, ethylene vinyl acetate with pineapple leaf fib, jute fibre mixed with polyurethane, wood-plastic with coir fibers, vacuum thermoforming process for polyvinyl chloride plastic, rice starch reinforced with recycled newspaper cellulose fibres, structural weaved textile, aramid fabric and polypropylene for the information study in develop and improve the structure of the crystalline material between natural jute fiber mixed with epoxy resin by during the mixing to use vacuum system and additives in forming the enables mechanical properties than carbon fibers and the high cost of production and ready to be taken to replace the carbon fiber used in industries such as aerospace, automotive, textile products and mechanical each of the categories.

Downloads

Issue

Section

บทความวิชาการ (Academic Article)