การปรับปรุงวิธีการทางวิทยาศาสตร์สำหรับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
Main Article Content
บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ของบทความเพื่อต้องการนำเสนอแนวคิดการปรับปรุงวิธีการทางวิทยาศาสตร์สำหรับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism Theory) ทฤษฎีสร้างความรู้ด้วยตนเอง (Constructionism) หลักการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ วิธีการทางวิทยาศาสตร์ และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์จะถูกนำมา ใช้อ้างอิงแนวคิดการปรับปรุงวิธีการดังกล่าว ผลการปรับปรุงเป็นดังนี้
วิธีการทางวิทยาศาสตร์สำหรับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบ่งเป็น 8 ขั้นตอนคือ 1) ขั้นสังเกต 2) ขั้นกำหนดปัญหา 3) ขั้นกำหนดสมมติฐาน (ถ้ามี) 4) ขั้นรวบรวมข้อมูล 5) ขั้นจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล 6) ขั้นวิเคราะห์ อภิปราย และลงข้อสรุปข้อมูล 7) ขั้นนำเสนอข้อค้นพบ และ 8) ขั้นสร้างปัญญา
ขั้นสังเกตปรับปรุงเป็น 3 ขั้นตอนย่อยคือ ขั้นทบทวนความรู้หรือประสบการณ์เดิม ขั้นสังเกตเหตุการณ์หรือประสบการณ์ใหม่ และขั้นวิเคราะห์ อภิปราย และลงข้อสรุปข้อมูลการสังเกตเพื่อสร้างประเด็นของปัญหาที่ต้องคิดค้นหาคำตอบ ขั้นกำหนดสมมติฐาน ปรับปรุงให้มีหรือไม่มี ขึ้นอยู่กับลักษณะของปัญหาที่ต้องการคิดค้นคำตอบว่าเป็นปัญหาการทดลองหรือปัญหาการสำรวจ ขั้นรวบรวมข้อมูล ปรับปรุงจากขั้นทดลอง จำแนกเป็นการรวบรวมข้อมูลการทดลองและข้อมูลการสำรวจ ขั้นจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล สำหรับขั้นการนำเสนอข้อค้นพบ และ ขั้นสร้างปัญญา เป็นขั้นตอนที่เพิ่มเติมจากวิธีการทางวิทยาศาสตร์เดิม ส่วน ขั้นกำหนดปัญหา และ ขั้นวิเคราะห์ อภิปราย และลงข้อสรุปข้อมูล เป็นขั้นตอนมีอยู่เดิมของวิธีการทางวิทยาศาสตร์
ขั้นสังเกตถึงขั้นวิเคราะห์ อภิปราย และลงข้อสรุปข้อมูล ยกเว้นขั้นกำหนดปัญหา เป็นขั้นที่บูรณาการกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
Downloads
Article Details
References
รับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศักดิ์.(2549). การคิดเชิงวิเคราะห์. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: บริษัท ซัคเซส มีเดีย จำกัด
ขนิษฐา จีนาภักดิ์ .(2542). วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย. บุรีรัมย์: สถาบันราชภัฏบุรีรัมย์.
ครูบ้านนอก.คอม (2558). ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ป.6 ม.3 และม.6
ระหว่างปีการศึกษา 2551-2557. [ออนไลน์]. แหล่งสืบค้น. http://www.kroobannok.com/
article-76459.htm สืบค้นเมื่อ 7 พฤษภาคม 2559.
จรินทร จันทร์เพ็ง และคณะ.(2555). การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการของ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 2 โดยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้. การประชุมเสนอ
ผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ครั้งที่ 2. นนทบุรี.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ชนกพร ธีระกุล. (2541). ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปะ
สร้างสรรค์แบบเน้นกระบวนการ. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. (การศึกษาปฐมวัย.กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สุชิน เพ็ชรักษ์. (2548). การจัดการกระบวนการเรียนรู้เพื่อสร้างสรรค์ด้วยปัญญาในประเทศไทย. รายงานการ
วิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพ ฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
ทิศนา แขมมณี. (2554). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ.
กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ทิศนา แขมมณี. (2557). ปลุกโลกการสอนให้ชีวิตสู่ห้องเรียนแห่งศตวรรษใหม่: อภิวัฒน์การเรียนรู้ทักษะแห่ง
ศตวรรษที่ 21. เอกสารประกอบการประชุมวิชาการ “อภิวัฒน์การเรียนรู้...สู่จุดเปลี่ยนประเทศไทย.
กรุงเทพฯ: สำนักส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน(สสค.)
พิมพันธ์ เดชะคุปต์. (2546). การพัฒนาการคิดของครูด้วยกิจกรรมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์. พิมพ์
ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ เดอะมาสเตอร์กรุ๊ป เมเนจเม้นท์.
พิมพ์พันธ์ เตชะคุปต์. (2555). ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ. เพาเวอร์
พอยต์ประกอบการบรรยาย. ภาควิชาหลักสูตร กาสอนและเทคโนโลยีการศึกษา. คณะครุศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. [ออนไลน์]. แหล่งสืบค้น. https://www.slideshare.net/nampeungkero/ss-
15018801. สืบค้นเมื่อ 23 ตุลาคม 2560.
มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อพัฒนาประเทศไทย. (2556). การจัดทำยุทธศาสตร์การปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐานให้เกิด
ความรับผิดชอบ.กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
มานพ จิตต์ภูษา. (2525). การวิจัยเชิงสำรวจเบื้องต้น. สงขลา. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
เยาวรัตน์ ปรปักขามและคณะ.(2523). วิจัยสำรวจ กรุงเทพฯ. ห้างหุ้นส่วนจำกัดพิทักษ์.
ลักขณา สริวัฒน์. (2557). จิตวิทยาสำหรับครู. กรุงเทพฯ: โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์.
วรรณทิพา รอดแรงค้า. (2544). การสอนวิทยาศาสตร์ที่เน้นทักษะกระบวนการ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สถาบัน
พัฒนาคุณภาพวิชาการ.
วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพ ฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.(2556) คู่มือการใช้หลักสูตรวิทยาศาสตร์ฉบับอนาคต
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. กรุงเทพฯ; สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2551).1 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระ
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551.โรงพิมพ์ชุมนุม
สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย: กรุงเทพมหานคร.
สัมพันธ์ พันธุ์พฤกษ์. (2559). ผลการสอบ “โอเน็ต” ป. 6 – ม. 3 คะแนนสูงขึ้น-แต่ไม่ผ่าน. [ออนไลน์].
แหล่งสืบค้น. http://www.admissionpremium.com/news/671.สืบค้นเมื่อ 7 พฤษภาคม 2559.
สิริวรรณ ใจกระเสน และคณะ. (2554). การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์โดยใช้เกม
วิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านหนองบัว จังหวัดลำพูน.
วิทยานิพนธ์. หลักสูตรมหาบัณฑิต. นนทบุรี: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สทศ. (2559). ผลการทดสอบ O-NET ปีการศึกษา 2558. [ออนไลน์]. แหล่งสืบค้น. http://www.
.darunawitaed.ac.th/index.php/news-activities/drws-news/246-o-net-2558. สืบค้นเมื่อ 7
พฤษภาคม 2559.
สทศ. (2560). สทศ. ประกาศผลการสอบโอเน็ต ม. 6 ปี’59 เผยไทย - อังกฤษคะแนนพุ่ง กทม. แชมป์
คะแนนเฉลี่ย. [ออนไลน์] .แหล่งสืบค้น. http://www. niets.or.th/th/content/view/4393.สืบค้น
เมื่อ 20 มีนาคม 2559.
เสาวภา วัชรกิตติ. (2537) จิตวิทยาทั่วไป. ภาควิชาจิตวิทยา คณะสังคมศาสตร์ กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
อนุชา โสมาบุตร. (2556). ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivist). [ออนไลน์]. แหล่งสืบค้น.
wanwanut. Myreadyweb.com. สืบค้นเมื่อ 29 พฤศจิกายน 2560.
อัญชลี เหล่ารอด. (2554). ผลการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของนักเรียนชัน
มัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้คำถามควบคู่กับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์. วิทยานิพนธ์. หลักสูตรปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต. กรุงเทพ ฯ. บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
อาภรณ์ ใจเทียง. (2544). การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ. วารสารครุสาร คณะครุ
ศาสตร์สถาบันราชภัฏนครปฐม. 3(4).
อิสระ ทับสีสด. (2549). การออกแบบกิจกรรมเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการและวิธีการทาง
วิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 1 -3 ที่สังกัดโรงเรียนในจังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ และน่าน.
รายงานการวิจัย. อุตรดิตถ์: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์.
Abruscato. (2000). Teaching Children Science. Massachusetts: Allyn & Bacon.
Ary, D, Jacob, L.C., and Razavieh, A. (1990. Introduction to Research in Education. 4th ed.
Orlando: Harcourt Brace College.
Biological Sciences Curriculum Study. (1998). Biology: An Ecological Approach. 8th ed. Dubuque,
IA: Kendall/Hunt.
Carin, A. A. and Sund, R. E. (1975). Teaching Modern Science. 2nd ed. Columbus, Ohio:
Merril Publishing Company.
Eisenkraft, A. (2003). Expanding the 5E Model: A Proposed 7E Model Emphasizes “Transfer
of Learning” and the Importance of Eliciting Prior Understanding. The Science
Teacher, 70 (6).
Hurd, Paul De Hart. (1971). New Dictions in Teaching Secondary School Science. Chicago:
Rand Mc Nally & Company, Kupchella, C.E. and M.C. Hyland.
Kuslan, Louis I, and Stone, A. Harie.(1968). Teaching Children Science: and Inquiry Approach.
California: Edward Publishing Co.
Lall.GR. and Lall, B.M. (1983). Way of Children Learn. Illinois: Charles C. Thomas Publisher.
Lederman, N. G., Abd –El – Khalick, F., Bell, R. L. and Schwartz, R. S. (2002). Views of Nature
of Science Questionnaire: Toward and Meaningful Assessment of Learners’
Conceptions of Nature of Science. Journal of Science Teacher Education, 39(6).
McComas,W.(2004).“Keys to Teaching the Nature of Science.”The Science Teacher 71 (9).