ศักยภาพการสะสมคาร์บอนของต้นมะเกี๋ยงพันธุ์คัดเลือกในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษาปริมาณคาร์บอนสะสมของมะเกี๋ยงพันธุ์คัดเลือกในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปริมาณคาร์บอนที่สะสมในลำต้นมะเกี๋ยงพันธุ์คัดเลือก (Cleistocalyx operculatus var. paniala) ในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก ดำเนินโครงการ ณ สาขาพืชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก ตั้งแต่วันที่ 1 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2566 ถึงวันที่ 30 เดือนกันยายน พ.ศ. 2567 ผลการดำเนินโครงการพบว่า มีการปริมาณการกักเก็บคาร์บอนเฉลี่ยต่อต้นเท่ากับ 55.40 กิโลกรัมคาร์บอนต่อต้น ทั้งแปลงเท่ากับ 1,551.24 กิโลกรัมคาร์บอน ปริมาณการกักเก็บคาร์บอนต่อเฮกตาร์เท่ากับ 4.09 ตันคาร์บอนต่อเฮกตาร์ ปริมาณการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เท่ากับ 15 ตันคาร์บอนไดออกไซด์ต่อเฮกตาร์ และมูลค่าคาร์บอนเครดิตเท่ากับ 7,653.55 บาท
Article Details
References
กาญจนา แสงลิ้มสุวรรณ. (2554). ความรู้เรื่องตลาดการค้าคาร์บอนเครดิต. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 3(1), 123-133.
เทอดพงศ์ ศรีสุขพันธุ์, อาภาพรณ์ บุลสถาพร และ สุขุมา ชานนท์. (2561). มวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนของพรรณไม้ในพื้นที่สนามกอล์ฟกรุงเทพมหานคร. น. 757-766. ใน: การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 6 "งานวิชาการรับใช้สังคม". วันที่ 22 มิถุนายน 2561. มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, จังหวัดสมุทรปราการ.
นนทิชา สนแก้ว, ปวีณ์นุช พื้นทอง, อันฐิกา นาคโถม, วรรณภา โกนกระโทก, นุชนาถ แช่มช้อย และ อาภาภรณ์ บุลสถาพร. (2561). ปริมาณการดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ของพรรณไม้บริเวณลานกีฬากลางแจ้ง มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. น.795-804. ใน: การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 6 "งานวิชาการรับใช้สังคม". วันที่ 22 มิถุนายน 2561. มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, จังหวัดสมุทรปราการ.
บุษรา กันหอม, บุญธิดา ม่วงศรีเมืองดี, ปัญญา ไวยบุญญา, ประภัสสร ยอดสง่า และ ปนัดดา ลาภเกิน. (2562). ความหลากหลายของพรรณไม้และการกักเก็บคาร์บอนในมวลชีวภาพของป่าชุมชนบ้านหนองเม็ก อำเภอโคกสูง จังหวัดสระแก้ว. วารสารวนศาสตร์, 38(2), 41-55.
สถานีอุตุนิยมวิทยาพิษณุโลก ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ กรมอุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ. (2567). ข้อมูลอุณหภูมิสูงสุด-ต่ำสุด และปริมาณฝน ของภาคเหนือ. สืบค้นเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2567 จาก http://www.cmmet.tmd.go.th/forecast/pt/Max_Min_Rainfall.php
สุรางค์รัตน์ พันแสง, บุญยสฤษดิ์ บุญสวน, สุภัทรทร เดชรักษา และ พวงผกา แก้วกรม. (2565). การประเมินการสะสมคาร์บอนในมวลชีวภาพไม้ยืนต้น กรณีศึกษาพื้นที่ป่าชุมชนบ้านห้วยลาน อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์. วารสารวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา, 7(2): 83-91.
BBC news Climate and Science. (2022). Climate change: Six tipping points “likely” to be crossed. Retrieved January 27, 2024 from https://www.bbc.com/news/science-environment-62838627.
IPCC. (2006). 2006 IPCC Guidelines for national greenhouse gas inventories: chapter 4 forestland. Japan: the Institute for Global Environmental Strategies (IGES).
Jantawong, K. (2017). Determination of aboveground carbon sequestration in restored forest by framework species method. Doctor of Philosophy (Environmental Science), Chiang Mai University, Chaing Mai (Thailand).
Ogawa, H., Yoda, K., Okino, K., & Kira, T. (1965). Comparative ecological studies on three main type of forest vegetation in Thailand. II. Plant Biomass. Nature and Life in South East Asia, 4, 49-80.
Pothong, T., Elliott, S., Chairuangsi, S., Wirong Chanthorn, W., Shannon, D. P., & Wangpakapattanawong, P. (2022). New allometric equations for quantifying tree biomass and carbon sequestration in seasonally dry secondary forest in northern Thailand. New Forests, 53, 17-36.
Tsutsumi, T., Yoda, K., Sahunalu, P., Dhanmanonda, P., & Prachaiyo, B. (1983). Forest: felling, burning and regeneration. In: Kyuma, K. & Pririntra, C. (Eds.), Shifting cultivation (pp. 13-62). Kyoto: Kyoto University.
World meteorological organization (WMO). 2022. More bad news for the planet: greenhouse gas levels hit new highs. Retrieved January 27, 2024 from https://public.wmo.int.