เครื่องฟักไข่แบบสมาร์ทและการตรวจสอบไข่ด้วยเทคโนโลยีใยแก้วนำแสง
คำสำคัญ:
เครื่องฟักไข่, อุณหภูมิ, ความชื้น, สมาร์ทโฟน, โมดูล ESP8266บทคัดย่อ
บทความนี้นำเสนอการออกแบบและพัฒนาเครื่องฟักไข่อัตโนมัติ สำหรับการควบคุมอุณหภูมิความชื้น และการพลิกไข่แบบอัตโนมัติทุก ๆ 2 ชั่วโมง เพื่อปรับปรุงระบบการฟักไข่และอัตราการรอดของไข่ในระยะเวลาการฟัก 22-25 วัน ในงานวิจัยฉบับนี้ประกอบด้วย 1) การควบคุมอุณหภูมิภายใน ตู้ฟักให้คงที่ระหว่าง 37-38 องศาเซลเซียสและความชื้นให้คงที่ระหว่าง 55-75 เปอร์เซ็นต์ โดยใช้โมดูล Wi-Fi ESP8266 ร่วมกับเซ็นเซอร์ DS18B20 และ DHT22 2) ระบบจะแจ้งเตือนสถานะการทำงานของเครื่องฟักไข่ผ่านเครื่องแม่ข่าย Blynk บนอินเทอร์เน็ตและแอพพลิเคชัน Line บนสมาร์ทโฟน และ 3) นำเสนอเทคนิคการใช้แสงจากหลอดแอลอีดีความเข้มสูงผ่านสายใยแก้วนำแสงแบบมัลติโหมดเพื่อ ตรวจสอบไข่ที่มีเชื้อและไม่มีเชื้อแทนเทคนิคการตรวจสอบแบบดั้งเดิมโดยใช้วิธีลอยน้ำหรือใช้หลอดไฟ ทังสเตนเพื่อลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของไข่แบบฉับพลันและการติดเชื้อแบคทีเรีย เนื่องจากการสัมผัสส่งผลให้อัตราการรอดของไข่ที่ฟักเพิ่มขึ้นจากการฟักด้วยแม่ไก่ตามธรรมชาติประมาณ 30 เปอร์เซ็นต์
References
Department of Livestock Development. “Application of ani-mal production technology,” May. 10, 2024, [Online]. Available: https://pvlo-yaa.dld.go.th/yaa25/images/stories/office/hatchery.pdf
Chickenfarmshop. “ Egg incubator,” January. 12, 2024. [Online]. Available: http://www.chickenfarmshop.com/categoly
S. Arayawat, C. Khunyai and P. Thanasri, “Automatic egg Incubator,” 10th National conference on technical education, June. 2017, pp. 329-333
A. Lue- Masueni, L. Samanpitak and Z. Kasa, “Research and Design Incubator to Control Temperature the Egg Back Automatically,” YRU Journal of Science and Technology, 2017, vol. 2, no. 1, pp. 39-49.
T. Saoprakorn, B. Reekprakorn, C. Paenprakorn and W. Lumchana, "Designing and Building an Egg Incubator Control System Using Microcontroller", Journal of Industrial Technology Buriram Rajabhat University, 2020, vol. 2, no. 2, pp. 67-73.
Y. Sriudom, S. Sapso, A. Tewata, Y. Moolaklang, S. Ratiphat and E. Krajangt- himaphorn, “ Low cost egg incubator for communities,” The Sci Journal of Phetchaburi Rajabhat University, 2020. vol, 17, no 2, pp. 30-40.
S. Multayen and J. Sikugha, “An Incubator to Control Temperature and Turn Eggs Automati- cally,” Journal of Science Innovation for Sustainable Development, 2020. vol, 2, no. 2, pp. 58-64.
E. Singhadet, T. Suriwong, S. Jiajitsawat and P. Tanarak, “ Performance comparison of heating coil and thermoelectric egg incubators,” Bhurapa Science Journal, 2014. vol. 4, no. 2, pp. 271-276.
W. Lumchanao and N. Potprarinya, “ Development of Egg Incubator for Detecting Embryos in Chicken Eggs Using Digital Image Processing Techniques,” SWU Engineering Journal, 2018. Vol. 13, no. 1, pp. 151-165.
J. Poolwan, B. Sripan and S. Kingthong, “ Development of automatic temperature and humidity control systems for eggs incubators with internet of thing technology,” RMUTSB Academic Journal, 2021. vol. 9, no. 2, pp. 225-236.
G. Panumonwatee, N. Preecha and S. Choosumrong, “ Temperature and Humidity Monitoring System on Hatching Native Chickens Egg in Electric Incubator using Internet of Things Technology,” Journal of Applied Research on Science and Technology, 2023, vol. 21, no. 2, pp. 14-28.
P. Thongpang, W. Rattanasiriwatt, P. Prachprayoon, G. Tungku and C. Somsut, “ Designing an Egg Incubator Using Quality Function Deployment Technology,” Thai Industrial Engineering Network Journal, 2023. vol. 9, no. 2, pp. 14- 28.
B. Sookananta, M. Thumwiset, S. Kongwan, S. Sareekham and M. Pusayatanont, “ Comparative study of sensors for agricultural applications,” Journal of Engineering and Innovation, 2024. vol. 17, no. 1, pp. 179-191.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของคณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว