ความพึงพอใจในการบริการของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครพนม เขต 1 ตามความคิดเห็นของผู้บริหารโรงเรียนและครูผู้สอนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครพนม เขต 1
Abstract
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความพึงพอใจต่อการบริการของสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษานครพนม เขต 1 2) เปรียบเทียบความพึงพอใจที่มีต่อการบริการของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา นครพนม เขต 1 ตามความคิดเห็นของผู้บริหารโรงเรียนและครูผู้สอน 3) เปรียบเทียบความพึงพอใจที่มีต่อการ บริการของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครพนม เขต 1 ตามความคิดเห็นของผู้บริหารโรงเรียนและครูผู้สอนที่ ปฏิบัติงานในโรงเรียนประเภทแตกต่างกัน 4) หาแนวทางที่เหมาะสมในการยกระดับความพึงพอใจในการ ให้บริการของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครพนม เขต 1 ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียน จำนวน 382 คน และครูผู้สอน จำนวน 3,698 คน รวมทั้งสิ้น 4,080 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย ผู้บริหารโรงเรียน จำนวน 128 คน และครูผู้สอน จำนวน 256 คน รวมทั้งสิ้น 384 คน ซึ่งได้มาโดย วิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi - stage Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.89 และมีค่าอำนาจการ จำแนกระหว่าง 0.37 – 0.79 สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที (t-test of Independent Samples) และการทดสอบค่าเอฟ (One - way ANOVA)
ผลการวิจัยพบว่า 1) ความพึงพอใจในการบริการของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครพนม เขต 1 ตาม ความคิดเห็นของผู้บริหารโรงเรียนและครูผู้สอนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครพนม เขต 1 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับปานกลาง 2) ความพึงพอใจในการบริการของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา นครพนม เขต 1 ตามความคิดเห็นของผู้บริหารโรงเรียนและครูผู้สอนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษานครพนม เขต 1 โดยรวม แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยผู้บริหารโรงเรียนมีความพึง พอใจมากกว่าครูผู้สอน เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ด้านการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา โดยครูผู้สอนมีความพึงพอใจมากกว่าผู้บริหารโรงเรียน และแตกต่างอย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ด้านการอำนวยการและ ด้านการบริหารบุคคล โดยผู้บริหารโรงเรียนมีความพึง พอใจมากกว่าครูผู้สอน ส่วนด้านอื่นๆ พบว่าไม่แตกต่างกัน 3) ความพึงพอใจในการบริการของสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษานครพนม เขต 1 ตามความคิดเห็นของผู้บริหารโรงเรียนและครูผู้สอนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษานครพนม เขต 1 จำแนกประเภทของโรงเรียน โดยรวมพบว่า แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .01 เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ด้านการอำนวยการ ด้าน การบริหารงานบุคคล และด้านการส่งเสริมการจัดการศึกษา โดยผู้บริหารโรงเรียนมีความพึงพอใจมากกว่า ครูผู้สอน ส่วนด้านอื่น ๆ พบว่าไม่แตกต่างกัน 4) การวิจัยครั้งนี้ได้เสนอแนวทางยกระดับความพึงพอใจในการ บริการของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครพนม เขต 1 ใน 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการอำนวยการ ด้านการ บริหารงานบุคคลและด้านนโยบายและแผน
Abstract
The purposes of this study were: 1) to investigate a degree of satisfaction from receiving service given by the Office of Nakhon Phanom Educational Service Area 1, 2) to compare satisfaction from receiving service given by the Office of Nakhon Phanom Educational Service Area 1 based on the opinion of school administrators and teachers, 3) to compare satisfaction from receiving service given by the Office of Nakhon Phanom Educational Service Area 1 based on the opinion of school administrators and teachers who worked in a different type of school, 4) to find an appropriate way to upgrading satisfaction from receiving service given by the Office of Nakhon Phanom Educational Service Area 1. The population of this study consisted of 382 school administrators and 3, 698 teachers, totaling 4,080. A sample comprised 128 school administrators and 256 teachers, totaling 384, who were randomly selected by multi-stage sampling. A 5-rating scale questionnaire constructed by this author was used as tool for collecting data, whose reliability value was 0.89 and its discrimination power values ranged from 0.37 to 0.79. Statistics used were percentage, mean, standard deviation, ttest of independent samples and one-way ANOVA.
Results of this study were as follows:
1. Satisfaction as a whole and each aspect from receiving service given by the Office of Nakhon Phanom Educational Service Area 1 based on the opinion of school administrators and teachers under the Office’s supervision was at the medium level.
2. Satisfaction as a whole from receiving service given by the Office of Nakhon Phanom Educational Service Area 1 based on the opinion of school administrators and teachers under the Office’s supervision was found significantly different at the .01 level. School administrators had more satisfaction than teachers. As each aspect was considered, there was found a significant difference at the .05 level in the aspect of supervision, following-up, and educational management evaluation. Teachers had more satisfaction than school administrators did. A significant difference was found at the .01 level in the aspects of directing, and personnel management. Administrators had more satisfaction, whereas no difference was found in other aspects.
3. Satisfaction as a whole from receiving service given by the Office of Nakhon Phanom Educational Service Area 1 based on the opinion of school administrators and teachers under the Office’s supervision, who worked in a different type of school was found significantly different at the .01 level. As each aspect was considered, there was found a significant difference at the .01 level in the aspects of directing, personnel management and promoting educational management. School administrators were found that they had more satisfaction than teachers. Other aspects were found not different.
4. This study proposes a way to upgrading satisfaction from receiving service given by the Office of Nakhon Phanom Educational Service Area 1 in 3 aspects like: directing, personnel management, and policy and plan.