ความสัมพันธ์ระหว่างการดำเนินงานกับประสิทธิผลการประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษาในโรงเรียนที่เปิดสอนช่วงชั้นที่ 1-3 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครพนม

Authors

  • อุทัยวรรณ โมธรรม นักศึกษาปริญญาโท สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม

Abstract

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการดำเนินงานกับประสิทธิผลการ ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาในโรงเรียนที่เปิดสอนช่วงชั้นที่ 1-3 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา นครพนม เปรียบเทียบตามสถานภาพและขนาดโรงเรียนและเพื่อหาแนวทางพัฒนาการดำเนินงานการประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่างจำนวน 310 คนประกอบด้วย ผู้บริหาร 64 คน ครูผู้สอน 118 คน ครู ผู้รับผิดชอบงานประกันคุณภาพการศึกษา 64 คน และกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 64 คน ได้มาโดย วิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประมาณ ค่าที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นประกอบด้วย แบบสอบถามการดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในซึ่งมีค่าอำนาจจำแนก ระหว่าง .45- .83 และค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .99 และแบบสอบถามประสิทธิผลการประกันคุณภาพภายในซึ่งมี ค่าอำนาจจำแนกระหว่าง .36 - .82 และค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .99 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที การทดสอบเอฟ และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อย่างง่ายของเพียร์สัน

ผลการวิจัย พบว่า การดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาในโรงเรียนที่เปิด สอนช่วงชั้นที่ 1 – 3 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครพนม โดยรวมอยู่ในระดับปานกลางประสิทธิผล การประกันคุณภาพ การศึกษาภายในสถานศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง การดำเนินงานการประกัน คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของผู้บริหาร ครู ครูผู้รับผิดชอบงานประกันคุณภาพ การศึกษา และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยรวมไม่แตกต่างกัน การดำเนินงานการประกันคุณภาพ การศึกษาภายในสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของผู้บริหาร ครู ครูผู้รับผิดชอบงานประกันคุณภาพการศึกษาและคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่ปฏิบัติงานในโรงเรียนที่มีขนาดต่างกัน โดยรวมไม่แตกต่างกัน ประสิทธิผลการดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาตามความคิดเห็นของผู้บริหาร ครู ครูผู้รับผิดชอบงานประกันคุณภาพการศึกษาและคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโดยรวมไม่แตกต่างกัน ประสิทธิผลการดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาในโรงเรียน ตามความคิดเห็นของ ผู้บริหาร ครู ครูผู้รับผิดชอบงานประกันคุณภาพการศึกษาและคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่ ปฏิบัติงานในโรงเรียนที่มีขนาดต่างกัน โดยรวมไม่แตกต่างกัน การดำเนินงานกับประสิทธิผลการประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษา มีความสัมพันธ์กันทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 การดำเนินงานการ ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาที่ต้องหาแนวทางพัฒนาประกอบด้วย ด้านการจัดระบบบริหารและ สารสนเทศ ด้านการพัฒนามาตรฐานการศึกษา ด้านการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ด้านการดำเนินงาน ตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และด้านการรายงานการศึกษาประจำปี ซึ่งผู้วิจัยได้เสนอแนวทางพัฒนาไว้ แล้ว

 

Abstract

The purpose of this study was to examine the relationship between management and effectiveness of internal quality assurance within the schools offering Key stage 1-3 under the Offices of Educational Service in the Nakhon Phanom area, to compare the opinion of administrators, teachers, teachers who were responsible for educational quality assurance, and committee members of basic education institutions according to their status and school size, and to find a way to develop management of internal quality assurance. A sample of 310 people randomly selected by multi-stage sampling comprised 64 administrators, 118 teachers, 64 teachers who were responsible for educational quality assurance, and 64 committee members of basic education institutions.The instrument used to collect data was a rating-scale questionnaire constructed by this researcher, whose first part consisted of questions on internal quality assurance which had discrimination power values between .45 and .83, and whose second part consisted of questions on effectiveness of internal quality assurance which had discrimination power values between .36 and .82 and the reliability coefficient of .99. Statistics used to analyze the data were percentage, standard deviation, t-test, F-test, and Pearson’s product moment correlation coefficients.

The findings revealed the following:

1. Overall management of internal quality assurance within the schools offering Key stage1-3 under the Offices of Educational Service in the Nakhon Phanom area was at the moderate level.

2. Overall effectiveness of internal quality assurance within the schools offering Key stage 1-3 under the Offices of Educational Service in the Nakhon Phanom area was at the moderate level.

3. Overall management of internal quality assurance within the schools offering Key stage 1-3 under the Offices of Educational Service in the Nakhon Phanom area according to the opinion of administrators, teachers, teachers who were responsible for educational quality assurance, and committee members of basic education institutions did not show a difference.

4. Overall management of internal quality assurance within the schools offering Key stage 1-3 under the Offices of Educational Service in the Nakhon Phanom area according to the opinion of administrators, teachers, teachers who were responsible for educational quality assurance, and committee members of basic education institutions whose schools they worked in had a different size did not show a difference.

5. Overall effectiveness of internal quality assurance within the schools offering Key stage 1-3 under the Offices of Educational Service in the Nakhon Phanon area according to the opinion of administrators, teachers, teachers who were responsible for educational quality assurance, and committee members of basic education institutions did not show a difference.

6. Overall effectiveness of internal quality assurance within the schools offering Key stage 1-3 under the Offices of Educational Service in the Nakhon Phanom area according to the opinion of administrators, teachers, teachers who were responsible for educational quality assurance,and committee members of basic education institutions whose schools they worked in had a different size did not reveal a difference.

7. Management and effectiveness of internal quality assurance in the schools offering Key stage 1-3 under the Offices of Educational Service in the Nakhon Phanom area had a positive relationship to each other at the .01 level of significance.

8. A way to develop management of internal quality assurance in the schools offering Key stage1-3 under the Offices of Educational Service in the Nakhon Phanom area as suggested in the study consists of management of the administrative and informative system, educational standard development, development planning for educational quality, management based on the educational quality development plan, and a report of education on a yearly basis. All have been already proposed for the development.

Downloads

How to Cite

โมธรรม อ. (2013). ความสัมพันธ์ระหว่างการดำเนินงานกับประสิทธิผลการประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษาในโรงเรียนที่เปิดสอนช่วงชั้นที่ 1-3 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครพนม. Creative Science, 3(5), 105–118. Retrieved from https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/snru_journal/article/view/10008