การพัฒนารูปแบบทางคณิตศาสตร์สำหรับวางแผนการจัดตารางการให้บริการของสถานประกอบการในธุรกิจท่องเที่ยวในประเทศไทยภายใต้กรอบเวลาแบบยืดหยุ่น

ผู้แต่ง

  • พรรัตน์ ธำรงวุฒิ สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • กาญจนา เศรษฐนันท์ สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • ฐิติพงศ์ จำรัส สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • ชุลีพร วงศ์ลือชา คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • ก้องกิดากร วรสาร คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คำสำคัญ:

การจัดการโซ่อุปทานการท่องเที่ยว, รูปแบบทางคณิตศาสตร์, วิธีโปรแกรมเชิงเส้นแบบจำนวนเต็มผสม, ปัญหาการจัดตารางการให้บริการ

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาปัญหาการวางแผนการจัดตารางการให้บริการสำหรับสถานประกอบการในธุรกิจท่องเที่ยวเนื่องจากการวางแผนดังกล่าวต้องมีการคำนึงถึงปัจจัยต่าง ๆ ที่หลากหลายและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวไม่สามารถจัดสรรทรัพยากรต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นจึงได้ดำเนินการศึกษาสำหรับการวางแผนการจัดตารางการให้บริการของสถานประกอบการในธุรกิจท่องเที่ยวซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อลดระยะเวลาของสถานประกอบการในธุรกิจท่องเที่ยวที่ไม่สามารถให้บริการในกรอบเวลาได้ให้มีค่าต่ำที่สุด ภายใต้การพิจารณาข้อจำกัดด้านเวลาทั้งของนักท่องเที่ยวและสถานประกอบการในธุรกิจท่องเที่ยว ข้อจำกัดด้านระยะเวลาการเดินทาง และข้อจำกัดของสถานประกอบการในธุรกิจท่องเที่ยว โดยการพัฒนารูปแบบทางคณิตศาสตร์ในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว ซึ่งจากผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่ารูปแบบทางคณิตศาสตร์ที่ทำการพัฒนานั้นสามารถแก้ไขปัญหาในเชิงอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งในด้านการพัฒนาคุณภาพของคำตอบและระยะเวลาในการคำนวณหาคำตอบของปัญหา อีกทั้งระยะเวลาในการหาคำตอบอยู่ภายใต้กรอบระยะเวลาที่อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวสามารถยอมรับได้

References

N. Khamsing, K. Chindaprasert, R. Pitakaso, W. Sirirak, and C. Theeraviriya, “Modified ALNS algorithm for a processing application of family tourist route planning: a case study of Buriram in Thailand,” computation, vol. 9, no. 2, pp. 23, 2021, doi: 10.3390/computation9020023.

X. Wu, H. Guan, Y. Han, and J. Ma, “A tour route planning model for tourism experience utility maximization,” Advances in Mechanical Engineering, vol. 9, no. 10, 2017, doi: 10.1177/1687814017732309.

X. Zhou, M. Su, Z. Liu and D. Zhang, “Smart tour route planning algorithm based on clustering center motive iteration search,” IEEE Access, vol. 7, pp. 185607–185633, 2019, doi: 10.1109/ACCESS.2019.2960761.

X. Zhou, B. Sun, S. Li and S. Liu, “Tour route planning algorithm based on precise interested tourist sight data mining,” IEEE Access, vol. 8, pp. 153134–153168, 2020, doi: 10.1109/ACCESS.2020.3010420.

Q. Pan and X. Wang, “Independent travel recommendation algorithm based on analytical hierarchy process and simulated annealing for professional tourist,” Applied Intelligence, vol. 48, no. 6, pp. 1565–1581, 2017, doi: 10.1007/s10489-017-1014-0.

W. Sirirak and R. Pitakaso, “Marketplace location decision making and tourism route planning,” administrative sciences, vol.8, no. 4, pp. 72, 2018, doi: 10.3390/admsci8040072.

Z. K. A. Baizal, K. M. Lhaksmana, A. A. Rahmawati, M. Kirom, and Z. Mubarok, “Travel route scheduling based on user’s preferences using simulated annealing,” International Journal of Electrical and Computer Engineering, vol. 9, no. 2, pp. 1275–1287, 2019, doi: 10.11591/ijece.v9i2.pp1275-1287.

M. A. Uwaisy, Z. K. A. Baizal, and M. Y. Reditya, Recommendation of scheduling tourism routes using tabu search method (case study Bandung),” Procedia Computer Science, vol. 157, pp. 150–159, 2019, doi: 10.1016/j.procs.2019.08.152.

S. Boontaveeyuwat, “Optimizing the transportation of international container cargoes of Thailand under the appearances of two new deep seaports: Dawei and Pakbara ports,” Ladkrabang Engineering Journal, vol. 33, no. 2, pp. 104–110, 2016.

K. Sathapornprasath and P. Praneetpclkrang, “Mathematical model for paddy drying by jet spouted bed dryer,” Ladkrabang Engineering Journal, vol. 34, no. 4, pp. 22–29, 2017.

เผยแพร่แล้ว

2022-03-29

How to Cite

[1]
ธำรงวุฒิ พ., เศรษฐนันท์ ก., จำรัส ฐ., วงศ์ลือชา ช., และ วรสาร ก., “การพัฒนารูปแบบทางคณิตศาสตร์สำหรับวางแผนการจัดตารางการให้บริการของสถานประกอบการในธุรกิจท่องเที่ยวในประเทศไทยภายใต้กรอบเวลาแบบยืดหยุ่น”, Eng. & Technol. Horiz., ปี 39, ฉบับที่ 1, น. 1–10, มี.ค. 2022.

ฉบับ

บท

บทความวิจัย