แบบจำลองการจราจรในพื้นที่ธุรกิจของกรุงเทพมหานคร
คำสำคัญ:
การแบบจำลองการจราจร, กรุงเทพมหานคร, พื้นที่ธุรกิจบทคัดย่อ
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจำลองสภาพจราจรในพื้นที่ธุรกิจของกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลในการวิเคราะห์และแก้ปัญหาต่างๆในอนาคต พื้นที่ศึกษาเลือกเป็นพื้นที่เศรษฐกิจ โดยเลือกจากปริมาณการจ้างงาน และ รายได้ โดยได้สำรวจและจำลองแยกทั้งหมด 12 แยก ในเวลาชั่วโมงเร่งด่วน และสร้างแบบจำลองการจราจรด้วยโปรแกรมสร้างแบบจำลองระดับจุลภาค VISSIM ปรับเทียบแบบจำลอง โดยใช้ปริมาณรถ ความยาวแถวคอย และ ระยะเวลาในการเดินทางจนได้ผลเปรียบเทียบคลาดเคลื่อนน้อย ประโยชน์จากแบบจำลอง คือ ได้ศึกษาเครื่องมือที่ใช้สำหรับการจำลองสภาพจราจร เพื่อทดสอบผลกระทบต่างๆที่อาจจะเกิดขึ้นอันเนื่องมาจากการปิดการจราจรในพื้นที่ต่างๆ และนำไปสู่การแก้ไขปัญหาจราจรได้อย่างมีระบบ
References
[2] Office of Transport and Traffic Policy and Planning, 2014. Speed of Passenger Car on Main Roads in Bangkok, year 2009-2013. http:// www.otp.go.th/th/Pdf/Statistic/Information/travel/ 2-1_m
[3] Thairath Newspaper, “เหตุร้ายเกิดขึ้นซ้ำ แยกราชประสงค์ ฤาอาถรรพ์ยังแรง?”, 25 July 2016, pp. 3.
[4] Highways Agency, Design Manual for Roads & Bridges (DMRB) Vol. 12. Department for Transport, UK, 1997.
[5] Office of Transport and Traffic Policy, “Traffic Relief for Road Intersection Area”, 2009.
[6] S. Heapkaew, J. Pitakslongkarn, and A. Phanichkulphong, “Evaluate Effectiveness of Traffic and Transportation Incoming and Outgoing for Specific Areas using Traffic Micro Simulation Modeling,” The 20th National Convention on Civil Engineering, Chonburi, Thailand, 2015 (In Thai).
[7] P. Phusawan and J. Pithaksalongkarn, “Evaluating the Effectiveness of Traffic Calming Devices using Micro Simulation Modeling Analysis Technique,” The 20th National Convention on Civil Engineering, Chonburi, Thailand, 2015 (In Thai).
[8] M. Wichiensin, A. Kunasirin, and K. Muanna, “Traffic Simulation model for Kasetsart University”, The 20th National Convention on Civil Engineering, Chonburi, Thailand, 2015 (In Thai).
[9] J. Sakorn, P. Raothanacholakul, and N. Inphayung, “The Analysis and solution for Traffic Management at the Entrance of Burapha University using VISSIM,” The 20th National Convention on Civil Engineering, Chonburi, Thailand, 2015 (In Thai).
[10] Asian Development Bank: Operations Evaluation Department, 2005. Performance Evaluation Report Bangkok Urban Transport Project (Loan 1195-THA), Appendix 6, pp. 39.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง และคณาจารย์ท่านอื่นๆในสถาบันฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว