การเปรียบเทียบค่านิยม ความเชื่อ บรรทัดฐานและพฤติกรรมการออกแบบโดยคำนึงถึงความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อมของผู้ออกแบบในอุตสาหกรรมก่อสร้างไทย
คำสำคัญ:
พฤติกรรมการออกแบบอย่างยั่งยืน, ค่านิยมด้านสิ่งแวดล้อม, ความเชื่อด้านสิ่งแวดล้อม, การออกแบบอาคารเขียว, สถาปนิกและวิศวกรบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของค่านิยม ความเชื่อ บรรทัดฐาน และพฤติกรรมการออกแบบโดยคำนึงถึงความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม โดยใช้ทฤษฎี Value-Belief-Norm (VBN) ของกลุ่มผู้ที่เคยออกแบบอาคารเขียวและกลุ่มผู้ที่ไม่เคยออกแบบอาคารเขียว จากการวิเคราะห์แบบสอบถามจำนวน 430 ชุด โดยเปรียบเทียบความแตกต่างด้วยวิธี one-way ANOVA การศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างที่เคยออกแบบอาคารเขียวให้ความสำคัญกับค่านิยมด้านสิ่งแวดล้อม มีความเชื่อด้านสิ่งแวดล้อม และบรรทัดฐานด้านสิ่งแวดล้อมสูงกว่ากลุ่มที่ไม่เคยออกแบบอาคารเขียวซึ่งแตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 และกลุ่มตัวอย่างที่มีประสบการณ์ในการออกแบบสูงให้ความสำคัญกับค่านิยมด้านการเห็นแก่ผู้อื่นและความเชื่อด้านการรับรู้ถึงผลกระทบ มากกว่ากลุ่มที่มีประสบการณ์ในการออกแบบน้อยกว่า และยังพบว่ากลุ่มผู้ออกแบบที่เคยออกแบบอาคารเขียวและมีประสบการณ์สูงมีบรรทัดฐานและพฤติกรรมการออกแบบโดยคำนึงถึงความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อมสูงอีกด้วย
References
[2] Western North Carolina Green Building Council, [online]. Available: http://www.wncgbc.org/about/importance-of-green-building/.[August 16, 2016]
[3] M. Teo and M. Loosemore, “A theory of waste behaviour in the construction industry”, Australia,2001
[4] Role of Structural Engineers in the Warming Globe, [online]. Available: http://www.stbe. Eng.ku.ac.th/. [August 16, 2016]
[5] The Global Environmental Impact of Buildings, [online]. Available:http://www.woodsolutions.com/. [November 30, 2016]
[6] Rohini, “Is Social Psychological Model Sufficient: Empirical Research Gaps For Understanding Green Consumer Attitudinal Behaviour” International Journal of Advanced Research inManagement and Social Sciences ,vol.1 ,2012
[7] H. Choi, J. Jang, J. Kandampully, “Application of extended VBN theory to understand consumers’ decisions about green hotels”, Ohio University, United States,2015
[8] P.C. Stern, “New environmental theories: toward a coherent theory of environmentally significant behavior”, J. Soc. Issues, 56 (3), 2000
[9] J. Adriana and L. Steg, “ Sustainable transportation in Argentina: value beliefs norms and car use reduction”, Argentina, 2013
[10] L. Steg, L. Dreijerink and W. Abrahamse, “Factors influencing the acceptability of energy policies: A test of VBN theory”, Netherlands, 2006
[11] H. Paul, “Situational and personality factors as direct personal norm mediated predictors of pro-environmental behavior: Questions derived from norm-activation theory”, The Hague Police Service, Netherlands, 2007
[12] Thai's Rating of Energy and Environmental Sustainability for Preparation of New Building Construction & Major Renovation [online]. Available: http://www.tgbi.or.th/.[August 16, 2016]
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง และคณาจารย์ท่านอื่นๆในสถาบันฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว