กำลังอัดแกนเดียวและโครงสร้างจุลภาคของดินลูกรังเกือบตกชั้นคุณภาพปรับปรุงด้วยผิวทางแอสฟัลต์รีไซเคิลและซีเมนต์

ผู้แต่ง

  • จิระยุทธ สืบสุข
  • เบญจพล ขุนวิเศษ
  • อนิรุทธิ์ สุขแสน
  • เชิดศักดิ์ สุขศิริพัฒนพงศ์
  • คมกร ไชยเดชาธร

คำสำคัญ:

ดินลูกรังเกือบตกชั้นคุณภาพ, ผิวทางแอสฟัสต์รีไซเคิล, ซีเมนต์, กำลังอัดแกนเดียว, โครงสร้างจุลภาค

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้นำเสนอการปรับปรุงดินเกือบตกชั้นคุณภาพด้วยการผสมผิวทางแอสฟัลต์รีไซเคิล (Recycled asphalt pavement, RAP) และซีเมนต์ ดินที่ถูกปรับปรุงนี้ถูกนำมาศึกษาเพื่อใช้เป็นชั้นพื้นทางดินซีเมนต์ การศึกษาทำโดยทดสอบการรับแรงอัดแกนเดียวและการวิเคราะห์โครงสร้างจุลภาคของวัสดุผสมภายใต้สัดส่วนผสมต่าง ๆ จากผลการทดสอบพบว่าปริมาณ RAP เพิ่มขึ้นแล้วกำลังอัดแกนเดียวมีแนวโน้มลดลงอย่างมีนัยสำคัญ แม้ว่าดินผสม RAP จะถูกปรับปรุงด้วยซีเมนต์แต่การลดลงอย่างมากของกำลังอัดแกนเดียวสามารถพบได้อย่างชัดเจนกับตัวอย่างที่มีปริมาณ RAP มากกว่าร้อยละ 50 ยางแอสฟัลต์ใน RAP ขัดขวางผลิตภัณฑ์จากปฏิกิริยาไฮเดรชันในการเกาะยึดกับมวลดิน

References

[1] Department of highway, “Standard No. DH-S 213/2000, Pavement recycling,” Thailand, 2000.
[2] P.J. Cosentino, E.H. Kalajian, C.H. Shieh,, W.J.K. Mathurin, F.A. Gomez, E.D. Cleary, and A. Treeratrakoon, “Developing Specifications for Using Recycled Asphalt Pavement as Base, Subbase or General Fill Materials, Phase II, Rep. No. FL/DOT/RMC/06650-7754,” Florida Institute of Technology, 2003.
[4] A.J. Puppala, L.R. Hoyos, and A.K. Potturi, “Resilient Moduli Response of Moderately Cement-Treated Reclaimed Asphalt Pavement Aggregates,” Journal of Materials in Civil Engineering, Vol. 23, No. 7, pp. 990-998, 2011.
[5] A.J. Puppala, S. Saride, and R. Williammee, “Sustainable Reuse of Limestone Quarry Fines and RAP in Pavement Base/Subbase layers,” Journal of Materials in Civil Engineering, Vol. 24, No. 4, pp. 418-429, 2012.
[6] R. Taha, A. Ali, A. Basma, and O. Al-Turk, “Evaluation of reclaimed asphalt pavement aggregate in road bases and subbases,” Transportation Research Record 1652, Washington, DC, pp. 264-269, 1999.
[7] ASTM, “ASTM D254-14, Standard Test Methods for Specific Gravity of Soil Solids by Water Pycnometer,” ASTM International, West Conshohocken, PA., 2014.
[8] ASTM, “ASTM D4318-10e1, Standard Test Methods for Liquid Limit, Plastic Limit, and Plasticity Index of Soils,” ASTM International, West Conshohocken, PA., 2010.
[9] ASTM, “ASTM D422-63(2007), Standard Test Method for Particle-Size Analysis of Soils,” ASTM International, West Conshohocken, PA., 2007.
[10] ASTM D5102-09, Standard Test Method for Unconfined Compressive Strength of Compacted Soil-Lime Mixtures, ASTM International, West Conshohocken, PA., 2009.
[11] Department of highway, “Standard No. DH-S 204/2556, Soil cement base,” Thailand, 2013.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-06-19

How to Cite

[1]
สืบสุข จ. ., ขุนวิเศษ เ. . . . . . ., สุขแสน อ. ., สุขศิริพัฒนพงศ์ เ. ., และ ไชยเดชาธร ค. . ., “กำลังอัดแกนเดียวและโครงสร้างจุลภาคของดินลูกรังเกือบตกชั้นคุณภาพปรับปรุงด้วยผิวทางแอสฟัลต์รีไซเคิลและซีเมนต์”, Eng. & Technol. Horiz., ปี 33, ฉบับที่ 2, น. 111–116, มิ.ย. 2020.