การศึกษากิจกรรมโซ่อุปทานแบบยืดหยุ่นต่อสมรรถนะขององค์กร: กรณีศึกษากลุ่มผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ไทย

ผู้แต่ง

  • ทศพล เกียรติเจริญผล
  • ธนพล ประเสริฐผล.

คำสำคัญ:

โซ่อุปทานแบบยืดหยุ่น, ผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ไทย

บทคัดย่อ

     งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับของการดำเนินงานตามกิจกรรมของโซ่อุปทานแบบยืดหยุ่น (Flexible Supply Chain Management) ของผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์   และศึกษาความสัมพันธ์ของกิจกรรมเหล่านั้นกับสมรรถนะขององค์กร ในการศึกษาผู้วิจัยได้ใชวิธีการวิจัยเชิงสํารวจ (Survey-Based Research) จากผลการศึกษาพบว่า กลุ่มบริษัทผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ให้ความสำคัญในการดำเนินกิจกรรมของโซ่อุปทานแบบยืดหยุ่นมากที่สุดใน 3 กิจกรรม คือ กิจกรรมความเข้าใจในความคาดหวังและความต้องการของลูกค้า กิจกรรมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับลูกค้าอย่างต่อเนื่อง และกิจกรรมเน้นที่การผลิตตามคำสั่งซื้อของลูกค้า ในส่วนการวิเคราะห์ความสัมพันธ์พบว่า กิจกรรมการลดปริมาณสินค้าคงคลัง  และกิจกรรมการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ส่งมอบอย่างต่อเนื่อง  มีความสัมพันธ์กับสมรรถนะองค์กรอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติซึ่งพบว่า  องค์กรที่มีระดับการดำเนินกิจกรรมทั้งสองสูง  มีผลประเมินสมรรถนะขององค์กรที่ต่ำลง  ซึ่งผลการศึกษาจะเป็นแนวทางในการวางแผน  และทบทวนการบริหารโซ่อุปทานแบบยืดหยุ่นของผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ ในการพัฒนาประสิทธิภาพในการดำเนินงานในโซ่อุปทานต่อไป

References

[1] M. Christopher, “The Agile Supply Chain, Competing in Volatile Markets,” Journal of Industrial Marketing Management, vol. 29, 2000, pp. 37-44.
[2] D. Fliedner and R. J. Vokurka, “Agility: Competitive Weapon of the 1990s and Beyond?,” Journal of Production and Inventory Management, vol. 38, 1997, pp. 19-24.
[3] W. J. Tolone, “Virtual Situation Rooms: Connecting People Across Enterprises in the Supply Chain Agility,” Computer Aided Design, vol. 32, 2000, pp. 109-117.
[4] A. Agarwal, R. Shankar and M.K. Tiwari, “Model Agility of Supply Chain,” Journal of Industrial Marketing Management, vol.36, 2006, pp. 443-457.
[5] R. Shah, and P. T. Ward, "Defining and Developing Measures of Lean Production," Journal of Operations Management, vol. in Press, Corrected Proof, 2007.
[6] V. Crute, "Implementing Lean in Aerospace-Challenging the Assumptions and Understanding the Challenges," Technovation, vol. 23, 2003, pp. 917-928.
[7] R. Garber and S. Sarker, "Want a More Flexible," Journal of Supply Chain Management Review, 2007, pp. 29-33.
[8] K. C. Tan, S. B. Lyman and J. D.Wisner, "Supply Chain Management A Strategic Perspective," International Journal of Operations & Production Management, vol. 22, 2002, pp. 614 - 631.
[9] ตรีทศ เหล่าศิริหงษ์ทอง ลลิดา ยิ่งสูง และทศพล เกียรติเจริญผล. “การประยุกต์ใช้ระบบการผลิตแบบลีนร่วมกับการจัดการแบบโซ่อุปทาน.” วิศวลาดกระบังสาร. ปีที่ 25 ฉบับที่ 1. 2551. หน้า 52-57.
[10] T. Kiatcharoenpol, K. Rohitratana and T. Laosirihongthong, “Operation Strategies and Performance: Empirical Study of the Thai Automotive Industry” 3rd World Conference on Production and Operations Management (POM 2008), Japan, Aug 5-8, 2008, pp. 66-74.
[11] J. C. Nunnally, Psychometric Theory, New York: McGraw-Hill, 1978.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-06-11

How to Cite

[1]
เกียรติเจริญผล ท. . และ ประเสริฐผล. ธ. ., “การศึกษากิจกรรมโซ่อุปทานแบบยืดหยุ่นต่อสมรรถนะขององค์กร: กรณีศึกษากลุ่มผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ไทย”, Eng. & Technol. Horiz., ปี 28, ฉบับที่ 1, น. 37–42, มิ.ย. 2020.