การหาค่าที่เหมาะสมที่สุดของตัวควบคุมชนิดสัดส่วนร่วมกับ เรโซแนนซ์ สำหรับวงจรกรองกำลังแอกทีฟแบบขนานชนิด 1 เฟส บนพื้นฐานเทคนิคการควบคุมกระแสทางอ้อม
คำสำคัญ:
วงจรกรองกำลังแอกทีฟแบบขนานชนิด 1 เฟส, ตัวควบคุมชนิดสัดส่วนร่วมกับเรโซแนนซ์ (Proportional- Resonant Controller), วิธีพื้นฐานเชิงพันธุกรรม (Genetic Algorithm), การควบคุมกระแสทางอ้อม (Indirect Current Control)บทคัดย่อ
ปัจจุบันได้มีความสนใจเรื่องคุณภาพไฟฟ้าเพิ่มมากขึ้น ความก้าวหน้าในอุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์กำลัง เป็นสาเหตุให้เกิดฮาร์มอนิกในระบบไฟฟ้า โดยฮาร์มอนิกสามารถส่งผลกระทบต่อการทำงานอุปกรณ์ต่างๆ ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายและการทำงานผิดพลาดของอุปกรณ์ วงจรกรองกำลังแอกทีฟแบบขนานเป็นอุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่มีประสิทธิภาพสำหรับปรับปรุงคุณภาพไฟฟ้าให้ดีขึ้นด้วยการกรองฮาร์มอนิก บทความนี้นำเสนอการออกแบบและหาค่าที่เหมาะสมที่สุดของตัวควบคุมชนิดสัดส่วนร่วมกับเรโซแนนซ์ (Proportional-Resonant: PR) สำหรับวงจรกรองกำลังแอกทีฟแบบขนานชนิด 1 เฟสบนพื้นฐานเทคนิคการควบคุมกระแสทางอ้อม การหาค่าที่เหมาะสมที่สุดของตัวควบคุมชนิด PR อาศัยวิธีพื้นฐานเชิงพันธุกรรม (Genetic Algorithm: GA) การตรวจสอบความถูกต้องของการควบคุมที่เสนอใช้การจำลอง จากผลการจำลองสามารถลดค่าเปอร์เซ็นต์ความเพี้ยนเชิงฮาร์มอนิกรวม (%THD Harmonic Distortion: %THD) ได้ตํ่ากว่า 3 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งอยู่ภายใต้มาตรฐาน IEEE Std 519-2014
References
Report of the IEEE Task Force on the Effects of Harmonics on Equipment, “Effects of harmonics on equipment,” IEEE Transactions on Power Delivery, vol. 8, No. 2, pp. 672–680, April 1993.
Jou, H.-004C., Wu, J.-C. and Chu, H.-Y., 1994, “New Single-Phase Active Power Filter,” IEE Proceedings-Electric Power Applications, Vol. 141, No. 3, pp. 129-134.
Zhang, R., Cardinal, M., Szczesny, P. and Dame, M., 2002, “A Grid Simulator with Control of Single-Phase Power Converters in D-Q Rotating Frame,” IEEE Power Electronics Specialists Conference, IEEE 33rd Annual, pp. 1431-1436.
Lenwari, W., 2013, “Optimized Design of Modified Proportional-Resonant Controller for Current Control of Active Filters,” 2013 IEEE International Conference on Industrial Technology (ICIT), February 25-28, Cape Town, pp. 894-899.
Yodmanee, K. and Lenwari, W., 2016, “PI controller optimization for indirect current control for single-phase shunt active filter”, Ladkrabang Engineering Journal, Vol.33, No.1, March, pp. 42-47.
Lenwari, W., Sumner, M. and Zanchetta, P., 2009, “The Use of Genetic Algorithms for the Design of Resonant Compensators for Active Filters,” IEEE Transactions on Industrial Electronics, Vol. 56, No. 8, pp. 2852-2861.
IEEE, 2014, “519-2014 IEEE Recommended Practice and Requirements for Harmonic Control in Electric Power Systems,” IEEE Standard 519-2014 (Revision of IEEE Standard 519-1992), June 11, pp. 1-29.
Rahmani, S., AI-Haddad, K. and Fnaiech, F., 2003, “Reduced Switch Number Single-Phase Shunt Active Power Filter Using an Indirect Current Control Technique,” 2003 IEEE International Conference on Industrial Technology, December 10-12, pp. 1107-1112.
S. Fukuda and R. Imamura, “Application of a sinusoidal internal model to current control of three-phase utility-interface converters,” IEEE Transactions on Industrial Electronics, vol. 52, no. 2, pp. 420–426, Apr. 2005
D. N. Zmood, D. G. Holmes, and G. Bode, “Frequency domain analysis of three phase linear current regulators,” IEEE Transactions on Industry Applications, vol. 37, no. 2, pp. 601–610, Mar./Apr. 2001.
Haupt, R.L. and Haupt, S.E., 2004, Practical Genetic Algorithms, 2nd ed., John Wiley & Sons Press, United States of America, pp. 27-65.
Kongkachart, S. and Kinnares, V., 2009, “Improvement of Indirect Current Control Algorithm Using Proportional Integral-Resonant Controller in Active Power Filters”, Ladkrabang Engineering Journal, Vol.26, No.4, December, pp. 25-30.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง และคณาจารย์ท่านอื่นๆในสถาบันฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว