แนวทางจัดการสภาวะน่าสบายเชิงอุณหภาพในพื้นที่ปรับอากาศ เพื่อการประหยัดพลังงาน กรณีศึกษา: อาคารบรรณสาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

ผู้แต่ง

  • ณัฐพล เขตกระโทก ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • กีรติ สุลักษณ์ สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล สานักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

คำสำคัญ:

สภาวะน่าสบาย, อาคาร-การอนุรักษ์พลังงาน, ระบบปรับอากาศด้วยเครื่องปรับอากาศ

บทคัดย่อ

บทความนี้ศึกษาและรวบรวมข้อมูลด้านอุณหภาพในพื้นที่ปรับอากาศ ในอาคารบรรณสาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ซึ่งเป็นอาคารคอนกรีต พื้นที่ใช้สอยในตัวอาคาร 6,500 ตารางเมตร มีเครื่องเป่าลมเย็น จำนวน 32 ชุด คิดเป็น 3,618,000 Btu/h. มีการใช้ไฟฟ้าเฉลี่ย 113,354 kWh/เดือน การศึกษาได้ทาการตรวจวัดและเก็บข้อมูลวันที่ 4-15 มีนาคม2562 ช่วงเวลา 10.00 น.- 15.00 น. อาทิ ตรวจวัดอุณหภูมิ ตรวจวัดความเร็วลม ตรวจวัดความชื้น พบว่า พื้นที่ให้บริการ อาคารบรรณสารฯ มีค่าเฉลี่ยอุณหภูมิอยู่ที่ 24.18˚C ความชื้นที่ 35.75% ความเร็วลม 0.46 m/s โดยเมื่อนาค่าที่ได้ระบุลงใน CBE Thermal Comfort Tool (ASHRAE Standard 55-2017) เพื่อหาค่า PMV พบว่าในพื้นที่ให้บริการ ของอาคารบรรณสารสภาพอากาศค่อนข้างเย็น-หนาว ซึ่งไม่ตรงกับขอบเขตภาวะความสบายของมาตรฐาน ASHRAE Standard 55-2017 ต้องปรับอุณหภูมิให้สูงขึ้น 2˚C เพื่อจะตรงกับขอบเขตภาวะความสบายของมาตรฐาน ASHRAE Standard 55-2017 และยังสามารถลดการใช้พลังงานลงได้อีก 20%ของปริมาณการใช้พลังงานเฉลี่ยเครื่องปรับอากาศจากเดิม

References

Climate center Bureau of Meteorological Development(2559).Generalweathersummary2016. Retrieved January 20, 2017 from https://www.tmd.go.th/climate/climate.php?FileID=5.

ASHRAE. (1992). ANSI/ASHRAEStandard 55-1992. Atlanta: Author.

WanTani Panprasit.(2006).Ventilation in industrial plants. Bangkok Thammasan Printingfactory Phra Nakhon District

Khedari,J.,Yamtraipat,N.,Pratintong,N.,& Hirunlabh,J.Thailand Ventilation Comfort chart.Energy and Buildings, 2000

Fanger PO.1972. Thermal comfort analysis and application in environmental engineering. McGraw-Hill, NewYork, p. 244.

Surat Atthariyakul. 2007. “Effects of specific wind speed on comfort and energy saving in air-conditioned rooms” KKU Engineering, Year 34, Issue No. 1 :49-58

https://www.e-report.energy.go.th /kpi59m_files /PDF_EUIBOOK2559.pdf

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-03-29

How to Cite

[1]
เขตกระโทก ณ. และ สุลักษณ์ ก., “แนวทางจัดการสภาวะน่าสบายเชิงอุณหภาพในพื้นที่ปรับอากาศ เพื่อการประหยัดพลังงาน กรณีศึกษา: อาคารบรรณสาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี”, Eng. & Technol. Horiz., ปี 36, ฉบับที่ 1, น. 17–24, มี.ค. 2019.