การหาค่าที่เหมาะสมของตัวแปรในการตัดแผ่นอลูมิเนียมเกรด EN AW-6061 T6 ด้วย Nd-YAG เลเซอร์
คำสำคัญ:
การตัดด้วยเลเซอร์, โลหะผสมอลูมิเนียม, การออกแบบการทดลอง, ชิ้นส่วนยานยนต์และอากาศยานบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาค่าที่เหมาะสมของตัวแปรในการตัดแผ่นอลูมิเนียม EN AW-6061 T6 ด้วย Nd-YAG เลเซอร์ เพื่อให้ได้ค่าความหยาบผิวของรอยตัดที่น้อยที่สุด โดยใช้วิธีการออกแบบการทดลองแบบแฟคทอเรียล 2k สำหรับ ตัวแปรที่ทำการศึกษา คือ กำลังในการตัด ความเร็วในการตัด ความถี่ในการปล่อยเลเซอร์ และระยะห่างของหัวเลเซอร์จนถึง ชิ้นงาน จากการศึกษาพบว่า ตัวแปรทั้งหมดที่ได้กล่าวมามีอิทธิพลต่อความหยาบผิวของรอยตัด และค่าที่เหมาะสมของตัว แปรในระบบการตัดนี้ คือ กำลังในการตัดเท่ากับ 3000 W ความเร็วในการตัดเท่ากับ 1.4 m/min ความถี่ในการปล่อยเลเซอร์ เท่ากับ 20000 Hz และระยะห่างระหว่างหัวเลเซอร์จนถึงชิ้นงานเท่ากับ 0.5 mm. และจากการทดลองเพื่อยืนยันค่าที่ เหมาะสมพบว่า ได้ค่าความหยาบผิวเท่ากับ 1.86 m ซึ่งผ่านเกณฑ์การยอมรับของลูกค้า
References
J. Priyanka, S. Amit, “Simultaneous optimization of kerf taper and heat affected zone in ND-YAG laser of Al 6061-T6 sheet using hybrid approach of grey relational analysis and fuzzy logic,” Journal of Precision Engineering, vol. 54, pp. 302-312, 2018.
M. Milos, A. Jurgita, R. Miroslav, P. Dusan. “Determination of laser cutting process conditions using the preference selection index method,” Optic & Laser Technology, vol. 89, pp. 214-220, 2017.
R. Adalarasan, M. Santhanakumar, M. Rajmohan, “Optimization of laser cutting parameters for Al6061/SiCp/Al2O3 composite using grey based response surface methodology (GRSM),” Journal of Measurement, vol. 73, pp. 569-606, 2015.
F. Quintero, J. Pou, F. Lusquinos,M. Boutinguiza, R. Soto,M. Perez-Amor, “Quantitative evaluation of the quality of the cuts performed on mullite-alumina by Nd: YAG laser,” Optics and Laser in Engineering, vol. 42, pp. 327-340, 2004.
N. Rajaram, J. Sheikh-Ahmad, S. H. Cheraghi, “CO2 laser cut quality of 4130 steel,” International Journal of Machine Tool and Manufacture, vol. 43, pp. 351-358, 2003.
K. Abdel Ghany, M. Newishy , “Cutting of 1.2 mm thick austenitic stainless steel sheet using pulsed and CW Nd: YAG laser,” Journal of Material Processing Technology, vol. 168, pp. 438-447 2005.
K. Sefika, S. I. Etem, “Determination of process parameters in the laser micromilling application using Taguchi method a case study for AISI H13 tool steel,” International Journal Advanced Manufacturing Technology, vol. 58, pp. 201-209, 2012.
K. D. Avanish, Y. Vinod, “Multi-objective optimisation of laser beam cutting process,” Optic & Laser Technology, vol. 40, pp. 562–570, 2008.
N. Rajaram, J. Sheikh-Ahmad, S. H. Cheraghi, “CO2 laser cut quality of 4130 steel,” International Journal of Machine Tools & Manufacture, Vol 43, pp. 351-358, 2003.
R.Neimeyer, R.N. Smith, D.A.Kaminski, “Effects of operating parameters on surface quality laser cutting of mild steel,” Journal of Engineering for Industry, Vol. 115, pp. 359-366, 1993.
Douglas C. Montgomery, “Design and Analysis of Experiments,” Eighth Edition, New York, John Wiley and Sons, 2013.
K.K. Mandal , A.S. Kuar, S. Mitar, “Experimental investigation on laser micro-machining of Al 7075 alloy,” Optics and Laser Technology, Vol. 107, pp. 260-267, 2018.
P. Jankovic, M. Modic, M. Radovanovic, D. Petkovic, S. Mladenovic, “Optimization of Surface Roughness from Different Aspects in High-Power CO2 Laser Cutting of AA5754 Aluminum Alloy,” Arabian Journal for Science and Engineering, Vol. 44, pp. 10245-10256, 2019.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง และคณาจารย์ท่านอื่นๆในสถาบันฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว