การควบคุมอุณหภูมิของแผ่นกำเนิดเทอร์โมอิเล็กทริกสำหรับเตาเผาขยะขนาดเล็กด้วยกระบวนการหาค่าที่เหมาะสมแบบแมลงหวี่ปรับปรุง
คำสำคัญ:
เทอร์โมอิเล็กทริก, เตาเผาขยะ, กระบวนการหาค่าที่เหมาะสม, กระบวนการหาค่าที่เหมาะสมแบบแมลงหวี่ปรับปรุง, การสื่อสารแบบอินเทอร์เน็ตในทุกสรรพสิ่งบทคัดย่อ
บทความนี้เป็นการนำเสนอการใช้งานแผ่นกำเนิดเทอร์โมอิเล็กทริกสำหรับการแปลงพลังงานความร้อนที่เกิดขึ้นจากเตาเผาขยะมาเป็นพลังงานไฟฟ้าเพื่อใช้ประโยชน์และใช้กระบวนการหาค่าที่เหมาะสมแบบแมลงหวี่ปรับปรุงในการควบคุมการระบายความร้อนบนพื้นผิวด้านเย็นของแผ่นเทอร์โมอิเล็กทริก โดยระบบการแปลงพลังงานนี้ประกอบไปด้วย แผ่นเทอร์โมอิเล็กทริก เทอร์โมคัปเปิล ระบบระบายความร้อน ตัวตรวจจับระดับแรงดัน และไมโครคอนโทรลเลอร์ จากผลการสร้างและทดสอบพบว่ากระบวนการหาค่าที่เหมาะสมแบบแมลงหวี่ปรับปรุงสามารถที่จะควบคุมการระบายความร้อนบนพื้นผิวด้านเย็นให้เกิดความแตกต่างของอุณหภูมิบนพื้นผิวทั้งสองด้านได้สูงสุดและระบบการแปลงพลังงานสามารถที่จะให้กำเนิดพลังงานไฟฟ้าที่มีแรงดันสูงสุดเท่ากับ 18V กระแสเท่ากับ 0.85A ที่ความแตกต่างของอุณหภูมิบนพื้นผิวทั้งสองด้านเท่ากับ 128°C และข้อมูลของการแปลงพลังงานนี้จะถูกส่งไปบันทึกบนฐานข้อมูลด้วยการสื่อสารแบบอินเทอร์เน็ตในทุกสรรพสิ่ง
References
V. Sastraphichanthavee, “Energy and Environment,” Air Conditioning Engineering Association of Thailand, No 16, pp. 1–13, 2001.
Department of Alternative Energy Development and Efficiency, “Thailand Renewable Energy Report,” Ministry of Energy, Bangkok, Thailand, Final Rep., 2014.
C. Cekdin, Z. Nawawi and M. Faizal, “The Usage of Thermoelectric Generator as a Renewable Energy Source,” TELKOMNIKA Telecommunication, Computing, Electronics and Control, vol. 18, no. 4, pp. 2186–2192, 2020, doi: 10.12928/TELKOMNIKA.v18i4.13072.
S. LeBlanc, “Thermoelectric Generators: Linking Material Properties and Systems Engineering for Waste Heat Recovery Applications,” Sustainable Materrials and Technologies, vol. 1–2, pp. 26–35, 2014, doi: 10.1016/j.susmat.2014.11.002.
T. J. Hendricks, N. K. Karri, T. P. Hogan and C. J. Cauchy, “New Perspectives in Thermoelectric Energy Recovery System Design Optimization,” Journal of Electronic Materials, vol. 42, pp. 1725–1736, 2013, doi: 10.1007/s11664-012-2406-x.
I. Johnson, W. T. Choate and A. Davidson, “3.0 Waste Heat Recovery Options and Technologies” in Waste Heat Recovery. Technology and Opportunities US Industry, Laurel, MD, USA: BCS, Inc, 2008, ch. 3, sec. 3.4, pp. 25–29.
P. Yodovard, J. Khedari and J. Hirunlabh, “The Potential of Waste Heat Thermoelectric Power Generation from Diesel Cycle and Gas Turbine Cogeneration Plants,” Energy Sources, vol. 23, no. 3, pp. 213–224, 2001, doi: 10.1080/00908310151133889.
X. Ma, G. Shu, H. Tian, H. Yang and T. Chen, “Optimization of Length Ratio Segmented Thermoelectric Generators for Engine’s Waste Heat Recovery,” Energy Procedia, vol. 158, pp. 583–588, 2019, 10.1016/j.egypro.2019.01.157.
M. A. Zoui, S. Bentouba, J. G. Stocholm and M. Bourouis, “A Review on Thermoelectric Generators: Progress and Applications,” Energies, vol. 13, no. 14, pp. 1–32, 2020, 10.3390/en13143606.
J. C. Bass, N. B. Elsner, F. A. Leavitt, “Performance of the 1 kW Thermoelectric Generator for Diesel Engines,” Proc.the AIP Conference, Melville, NY, USA, 1994, pp. 295298, doi: 10.1063/1.46818.
Z. G. Shen, L. L. Tian and X. Liu, “Automotive Exhaust Thermoelectric Generators: Current Status, Challenges and Future Prospects,” Energy Conversion and Management, vol. 195, pp. 1138–1173, 2019, doi: 10.1016/j.enconman.2019.05.087.
A. D. Schlichting, S. R. Anton and D. J. Inman, “Motorcycle Waste Heat Energy Harvesting,” in Proc. the International Symposium on: Smart Structures and Materials & Nondestructive Evaluation and Health Monitoring, San Diego, CA, USA, 2008, pp. 69300, doi: 10.1117/12.775783.
R. Aridi, J. Faraj, S. Ali, T. Lemenand and M. Khaled, “Thermoelectric Power Generators: State-of-the-Art, Heat Recovery Method, and Challenges,” Electricity, vol. 2, no. 3, pp. 359–386, 2021, doi: 10.3390/electricity2030022.
Rowe D. M., “Thermoelectric Phenomena ” in CRC Handbook of Thermoelectrics, Washington, D.C.: CRC Press, 1995, ch. 2, sec. 2.3, pp. 1–17.
N. Mhudtongon, C. Phongcharoenpanich and S. Kawdungta, “Modified Fruit Fly Optimization Algorithm for Analysis of Large Antenna Array,” International Journal of Antennas and Propagation, vol. 2015, 2015, Art. no. 124675, doi: 10.1155/2015/124675.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง และคณาจารย์ท่านอื่นๆในสถาบันฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว