สมรรถนะเชิงความร้อนของฉนวนกันความร้อน: การติดตั้งฉนวนกันความร้อน ใต้หลังคาเมทัลชีท

ผู้แต่ง

  • วลี อมาตยกุล วิทยาลัยผู้ประกอบการสร้างสรรค์นานาชาติรัตนโกสินทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
  • จิระศักดิ์ พุกดำ สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรอาคาร คณะสถาปัตยกรรมและการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
  • ดิษฐา นนทิวรวงษ์ คณะสถาปัตยกรรมและการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
  • วิทยา พวงสมบัติ สุดกำแพง ถนนพหลโยธิน ต.โกสัมพี อ.โกสัมพีนคร จ.กำแพงเพชร

คำสำคัญ:

หลังคาเมทัลชีท, ฉนวนกันความร้อนชนิดใยแก้ว, ฉนวนกันความร้อนชนิดใยหิน, สมรรถนะเชิงความร้อน, ความร้อนผ่านฝ้าเพดาน

บทคัดย่อ

บทความนี้ได้นำเสนอสมรรถนะเชิงความร้อนของฉนวนกันความร้อนที่ติดตั้งใต้หลังคาเมทัลชีท บ้านทดสอบ 3 หลังได้ถูกนำมาใช้ในการทดสอบ โดยที่บ้านทดสอบหลังที่ 1 ติดตั้งฉนวนกันความร้อนชนิด  ใยแก้ว (HGW) บ้านทดสอบหลังที่ 2 ติดตั้งฉนวนกันความร้อนชนิดใยหิน (HAB) และบ้านทดสอบหลังที่ 3 เป็นบ้านอ้างอิง (Ref) หลังคาบ้านเป็นหลังคาเพิงแหงนที่มีมุมหลังคา 5° และมีปริมาตรห้องและห้องใต้หลังคาอยู่ที่ 22.5 m3 และ 5.4 m3 ตามลำดับ สมรรถนะเชิงความร้อนของฉนวนกันความร้อนแสดงในรูปของอุณหภูมิ ความร้อนผ่านฝ้าเพดานและเปอร์เซ็นต์การลดลงของความร้อนผ่านฝ้าเพดาน จากผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าบ้าน HGW มีอุณหภูมิของฉนวนต่ำกว่าบ้าน HAB อยู่ในช่วง 0.2°C ถึง 3.2°C ในขณะที่การลดลงของอุณหภูมิห้องใต้หลังคาสูงสุดของบ้าน HGW และ บ้าน HAB เท่ากับ 5.7°C และ 4.8°C เมื่อเทียบกับบ้านอ้างอิง นอกจากนี้ บ้าน HGW และ บ้าน HAB มีค่าความร้อนส่งผ่านฝ้าเพดานต่ำกว่าบ้านอ้างอิง ในขณะที่บ้าน HGW และ บ้าน HAB มีค่าเปอร์เซ็นต์การลดลงของความร้อนผ่านฝ้าเพดานเมื่อเทียบกับบ้านอ้างอิงถึง 50.75% และ 37.60% ตามลำดับ

Author Biographies

วลี อมาตยกุล, วิทยาลัยผู้ประกอบการสร้างสรรค์นานาชาติรัตนโกสินทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์

 

 

ดิษฐา นนทิวรวงษ์, คณะสถาปัตยกรรมและการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

 

 

วิทยา พวงสมบัติ, สุดกำแพง ถนนพหลโยธิน ต.โกสัมพี อ.โกสัมพีนคร จ.กำแพงเพชร

 

 

 

References

S. Phiraphat, R. Prommas and W. Puangsombut, “Experimen-tal study of natural convection in PV roof solar collector,” International Communica-tions in Heat and Mass Transfer, Vol.89, pp. 31-38, December 2017.

K. Jantana, W. Puangsombut and T. Ananacha, “The performance of the interlocking block solar collector,” Applied Mechanics and Materials, Vols. 619, pp. 130-134, 2014.

J. Khedari, C. Pongsatirat, W. Puangsombut and J. Hirunlabh, “Experimental performance of a partially-glazed Modified Trombe Wall,” International Journal of Ambient Energy, Vol.26, no.1, pp. 27-36, 2005.

W. Puangsombut, “Experimental performance of solar chimney window on school building,” Research and Development Journal of the Engineering Institute of Thailand, Vol. 20, no. 4, pp. 70-75, December 2009.

W. Puangsombut, D. Nonthiworawong and T. Lohapansomboon, “Effect of moisture reduction on thermal comfort by solar chimney window with small ventilation fan”, The Journal of Industrial Technology, Suan Sunandha Rajabhat University, Vol.8, no.1, pp.22-30, January – June 2020.

K. Juengpimonyanon, W. Puangsombut and T. Ananacha, “Field investigation on thermal performance of the tile ventilator,” Applied Mechanics and Materials, Vols.619, pp. 73-77, 2014.

N. Nankongnab, W. Puangsombut, S. Insiripong, J. Hirunlabh and U-C. Shin, “Field investigation on hygrothermal performance of full-vent perforated soffit and ceiling,” Solar Energy, Vol. 80, no. 8, pp. 936-948, August 2006.

D. Nonthiworawong, “Design of a light-vent pipe (LVP) to reduce building cooling load”, Ph.D. Thesis (Sustainable Energy and Environment Technology and Management), Rajamangala University of Technolo-gy Rattanakosin, Nakhon Pathom, TH, 2017.

S. Janjai, I. Masiri, S. Pattarapanitchai, and J. Laksanaboonsong, “Mapping global solar radiation from long-term satellite data in the tropic using an improved model,” International Journal of Photoenergy, Vol.2013, ID: 210159, 2013.

J. Khedari, A. Sangprajak and J. Hirunlabh, “Thailand climatic zones,” Renewable Energy, Vol. 25, no. 2, pp. 267-280, February 2002.

W. Puangsombut, “Cooling load reduction by PV attic ventilation”, M. Eng. Thesis (Thermal Technology), King Mongkut’s University of Technology Thonburi, Bangkok, TH, 2000.

J. Dechjirakul and T Chindavanig, “Fiberglass insulation performance in reducing heat transfer through wall system,” Sarasatr, Vol. 3, no. 1, pp. 81-92, 2020.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-06-30