การประเมินศักยภาพเชิงเทคนิคและวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์ระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตั้งบนหลังคา กรณีศึกษา: อาคารคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี

ผู้แต่ง

  • พรหมพักตร์ บุญรักษา สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
  • อิทธิพงษ์ ย่องหยี สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
  • จีรวรรณ หอมจันทร์ สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
  • ประจวบ พีระพงศ์ สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี
  • อุทัย อึ๋งเจริญ สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี
  • สมมาตร ทองคำ สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี
  • พัชรินทร์ อินทมาส สาขาวิชาอุตสาหกรรมศิลป์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช

คำสำคัญ:

พลังงานแสงอาทิตย์, ศักยภาพเชิงเทคนิค, การวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์

บทคัดย่อ

บทความนี้นำเสนอการประเมินศักยภาพเชิงเทคนิคและวิเคราะห์ความคุ้มค่าในการลงทุนในการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตั้งบนหลังคา กรณีศึกษา: อาคารคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี โดยแบ่งกรอบหัวข้อการวิจัยเป็น 3 ด้าน ประกอบด้วยศักยภาพเชิงกายภาพ ศักยภาพเชิงเทคนิค และศักยภาพเชิงเศรษฐศาสตร์ ผลการศึกษาพบว่าการผลิตไฟฟ้าจากการติดตั้งระบบผลิตพลังงานไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์บนหลังคาอาคารคณะวิศวกรรมศาสตร์ สามารถผลิตพลังงานไฟฟ้าได้รวม 199.06 MWh /Year ด้วยสมมติฐานภายใต้การคำนวณทางการเงินอัตราส่วนลด 6.5% ตลอดอายุการใช้งาน 25 ปีของการติดตั้งเซลล์แสงอาทิตย์และการเปลี่ยนอินเวอร์เตอร์ทุก ๆ 10 ปี สามารถทำให้โครงการมีมูลค่าปัจจุบันสุทธิเป็นบวก ผลตอบแทนจากการลงทุนในการติดตั้งเซลล์แสงอาทิตย์แสงอาทิตย์บนหลังคา อาคารคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี พบว่าระยะเวลาคืนทุน 5.85 ปี อัตราผลตอบแทนภายใน 20% และสามารถสรุปได้ว่าการติดตั้งระบบผลิตพลังงานไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์บนหลังคาอาคารคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี มีความเป็นไปได้และความสามารถในการทำกำไรให้กับผู้ประกอบการได้

References

T. Panyasit, “Performance simulation of a very small solar power plant installed on a plateau. Mae Sariang District Mae Hong Son Province,” The 16th heat energy and mass transfer in thermal and process equipment conference, 2017, pp. 277-285.

J. H. Kalicki and D. L. Goldwyn, “Energy and security: Strategies for a world in transition,” Washington: Woodrow Wilson Center Press, 2013.

Energy Regulatory Commission. (2022). The purchase of electricity from solar power generation installed on the roof.[Online].Available from : http://www.erc.or.th.

J. Kimsunthorn, “Solar System Installation Simulation by PVSYST Software,” the 31st Meeting of the Mechanical Engineering Network of Thailand (MENET), 2017, pp. 23(1)- 23(8).

W. Chansela and W. Ingkarojrit, “Feasibility assessment of solar power generation Roof-mounted indoor stadium type: a case study of Chulalongkorn University,” J-D : Academic Journal environment design, 2020.

C. Chakpatanachit, “Simulation of a floating photovoltaic power generation system in Bang Phra Reservoir,” Substance Engineering MG 20, 2006, pp. 34-46.

Wikipedia, the free encyclopedia. (2022). Bangkok Thonburi University. [Online].Available from : https://th. wikipedia.org/wiki.

N.Suwanasang and S.tongsopit, “ An Assessment of the Technical and Economic Potential of Rooftop Solar Systems on Chulalongkorn University’s Buildings”, Journal of Energy Research. vol.12 no.2, 2015, pp 59-74.

W. Chansela and V. Inkarojrit, “Feasibility assessment of solar rooftop systems for gymnasium: case study of Chulalongkorn University,” JOURNAL OF ENVIRONMENTAL DESIGN, 2020.

W.Srisongkram, (2020). Determining appropriate guidelines for school building solar rooftop systems in Thailand: a case study of Saraburiwittayakhom School, the standard building, OBEC 108 L/30, Thammasat University Thesis.

Solar panel LONGi size 535 Wp, Kasetphand Industry Company Limited [Online]. Available from: https://kpi-shop.com/en/.

Latest Ft, Metropolitan Electricity Authority, Thailand. [Online]. Available from:https://www.mea.or.th/ download/2985/3195.

S. Thongsuk and A. Ngophithakkul, “A Study of Efficiency and Cost-Effectiveness of Solar PV Systems Installed on Rooftops,” Srinakharinwirot University Journal (Science and Technology), 2018, pp. 157-169.

W. Chaengsawang. (2010). Renewable Energy Publisher of Chulalongkorn University.

W. Wamae, L. Sini and E. Singhadet. “Evaluation of the Power Generation System from Floating Solar Cells for Schools in the Southern Border Provinces.” Journal of Renewable Energy to Communities, 2021, pp. 50-57.

N. Khaosa-at and S. Petchsuwan. “Study on the performance of a solar cell system connected to the transmission line of the Yupparajtaphan Hin Hospital Accident Building.” Phichit Province. Journal of Renewable Energy to Communities, 2021, pp. 35-40.

LIFEstudies. (2022). Financial feasibility analysis of the project. [Online]. Available frome : https://www. lifestudies.net/Article_202_08_40.html.

K. Prataknukul and S. Rattanakuekangwan. “Analysis of investment conditions for small private power producers.” Energy Research Journal, 2011, pp. 87-95.

K. Kusuwan. “Financial and Economic Returns of Small Power Producer Projects in the Case of the Combined Heat and Electricity Generation System Using Natural Gas and Biomass as fuel.” Master's Thesis in Economics Pathum Thani : Thammasat University, 2002.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-29

How to Cite

บุญรักษา พ. ., ย่องหยี อ. ., หอมจันทร์ จ. ., พีระพงศ์ ป. ., อึ๋งเจริญ อ. ., ทองคำ ส. ., & อินทมาส พ. . (2022). การประเมินศักยภาพเชิงเทคนิคและวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์ระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตั้งบนหลังคา กรณีศึกษา: อาคารคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี. วารสารวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรม : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 10(2), 94–105. สืบค้น จาก https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/fit-ssru/article/view/250374