การปรับปรุงคุณภาพก๊าซชีวภาพด้วยวิธีทางชีววิทยาสังเคราะห์

ผู้แต่ง

  • นพดล ปั้นจันทร์ ภาควิชาวิศวกรรมกระบวนการและอุตสาหการ สถาบันวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

คำสำคัญ:

การปรับปรุงคุณภาพก๊าซชีวภาพ , ชีววิทยาสังเคราะห์

บทคัดย่อ

บทความนี้นำเสนอการประยุกต์ใช้ชีววิทยาสังเคราะห์ในการปรับปรุงคุณภาพก๊าซชีวภาพ ซึ่งเป็นการบูรณาการองค์ความรู้ทางพันธุวิศวกรรม วิศวกรรมเมตาบอลิซึมและกลุ่มจุลินทรีย์เชิงวิศวกรรม ผนวกเข้ากับวิธีการทางชีววิทยาของระบบ เพื่อสร้างแบบจำลองทางคอมพิวเตอร์ที่ช่วยให้เข้าใจปฏิสัมพันธ์ของจุลินทรีย์ และสามารถออกแบบกลุ่มจุลินทรีย์ให้มีความสามารถเพิ่มการผลิตก๊าซชีวภาพที่มีประสิทธิภาพได้ ชีววิทยาสังเคราะห์มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการขับเคลื่อนการพัฒนานวัตกรรมเทคโนโลยีสู่เศรษฐกิจฐานชีวภาพที่ยั่งยืน

 

References

วิภาดา ศิริอนุสรณ์ศักดิ์, สุภางค์ จุฬาลักษณานุกูล, และ วรวุฒิ จุฬาลักษณานุกูล. (2553). ก๊าซชีวภาพ แหล่งพลังงานทดแทน.วารสารวิทยาศาสตร์ มศว, 26(2), 197-210.

ศานต์ เศรษฐชัยมงคล และ อัญชิสา กุลทวีสุข. 2561. นมเปรี้ยวคีเฟอร์: เทคโนโลยีชีวภาพจากมุมมองวิทยาการด้านโอมิกส์. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 13(1), 1-18.

สิริชัย คุณภาพดีเลิศ, ปฏิรูป ผลจันทร์, อุเทน กันทา, และ ประเสริฐ ฤกษ์เกรียงไกร. (2554). การปรับปรุงคุณภาพก๊าซชีวภาพด้วยการดูดซึมด้วยน้ำอัดความดัน. วารสารวิชาการ วิศวกรรมศาสตร์ ม.อบ., 4(1), 42-49.

สิริรัตน์ สุวณิชย์เจริญ, และ ปราโมช เชี่ยวชาญ. (2548). ระบบบำบัดน้ำเสียทางชีวภาพ. จุลสารสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ฉบับที่ 3. สืบค้นเมื่อ 12 กรกฎาคม 2566, จาก https://www.stou.ac.th/schools/shs/booklet/6_2548/occhealth.htm.

Terrabon. (2561). การปรับปรุงคุณภาพก๊าซชีวภาพโดยการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ด้วยสารละลายเอมีน. สืบค้นเมื่อ 8 กรกฎาคม 2566, จาก https://www.terrabon.com.

Thanthida Thongphet. (2564). ทำความรู้จัก Synthetic Biology คืออะไร สร้างความเปลี่ยนแปลงในอุตสาหกรรมไหนบ้าง?. สืบค้นเมื่อ 7 กรกฎาคม 2566, จาก https://techsauce.co/tech-and-biz/what-is-synthetic-biology.

Basak, B., Ahn, Y., Kumar, R., Hwang, J. H., Kim, K. H., & Jeon, B. H. (2022). Lignocellulolytic microbiomes for augmenting lignocellulose degradation in anaerobic digestion. Trends in Microbiology, 30(1), 6-9.

Carr, S. & Buan, N. R. (2022). Insights into the biotechnology potential of Methanosarcina. Frontier in Microbiology, 13, 1034674-1034687.

Correa, S. S., Schultz, J., Lauersen, K. J., & Rosado, A. S. (2023). Natural carbon fixation and advances in synthetic engineering for redesigning and creating new fixation pathways. Journal of Advance Research, 47, 75-92.

Enzmann, F., Mayer, F., Rother, M., & Holtmann. (2018). Methanogens: biochemical background and biotechnological applications. AMB Express, 8, 1-22.

Lo, J., Humphreys, J. R., Jack, J., Urban, C., Magnusson, L., Xiong, W., Gu, Y., Ren Z. J., & Maness, P.C. (2020). The metabolism of Clostridium Ijungdahlii in phosphotransacetylase negative strains and development of an ethanologenic strain. Frontiers in Bioengineering and Biotechnology, 8, 560726-560737.

Nawaly, H., Tanaka, A., Toyoshima, Y., Tsuji, Y., & Matsuda, Y. (2023). Localization and characterization θ carbonic anhydrases in Thalassiosira pseudonana. Photosynthesis Research, 156, 217-229.

Ng, W. (2022). Application of metabolic engineering approaches in enhancing biological hydrogen production. Journal of Genetic Engineering and Biotechnology Research, 4(2), 204-207.

Ram, N. R., & Nikhil, G. N. (2022). A critical review on sustainable biogas production with focus on microbial-substrate interactions: bottlenecks and breakthroughs. Bioresource Technology Reports, 19, 101170-101188.

Scown, C. D., & Keasling, J. D. (2022). Sustainable manufacturing with synthetic biology. Nature Biotechnology, 40, 304-307.

Sposob, M., Moon, H. S., Lee, D., & Yun, Y. M. (2021). Microbiome of seven full-scale anaerobic digestion plants in South Korea: effect of feedstock and operational parameters. Energies, 14, 665-675.

Tabatabaei, M., Aghbashlo, M., Valijanian, E., Panahi, H. K. S., Nizami, A. S., Ghanavati, H., Sulaiman, A., Mirmohamadsadeghi, S., & Karimi, K. (2020). A comprehensive review on recent biological innovations to improve biogas production, part 2: mainstream and downstream strategies. Renewable Energy, 146, 1392-1407.

Valenzuela-Heredia, D., & Aroca, G. (2023). Methane biofiltration for the treatment of simulated diluted biogas emission containing ammonia and hydrogen sulfide. Chemical Engineering Journal, 469, 143704-143712.

Wang, D., Hunt, K. A., Candry, P., Tao, X., Wofford, A. Q., Zhou, J., Mclnerney, M. J., Stahl, D. A., Tanner, R. S., Zhou, A., Winkler, M., & Pan, C. (2023a). Cross-feeding, competition, and positive and negative synergies in a four-species synthetic community for anaerobic degradation of cellulose to methane. mBio, 14(2), 1-16.

Wang, N., Yang, Y., Xu, K., Long, X., Liu, H., Zhang, Y., Liu, H., Chen, T., & Li, J. (2023b). Insight into the metabolic pathway of EAD based on metabolic flux, microbial community, and enzyme activity. Biochemical Engineering Journal, 196, 108938-108948.

Yang, X., Xu, M., & Yang, S. T. (2015). Metabolic and process engineering of Clostridium cellulovorans for biofuel production from cellulose. Metabolic Engineering, 32, 39-48.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-04-19 — Updated on 2024-05-29

Versions

How to Cite

ปั้นจันทร์ น. . (2024). การปรับปรุงคุณภาพก๊าซชีวภาพด้วยวิธีทางชีววิทยาสังเคราะห์. PSRU Journal of Science and Technology, 9(1), 1–25. สืบค้น จาก https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/Scipsru/article/view/253534 (Original work published 19 เมษายน 2024)

ฉบับ

บท

บทความวิชาการ